| | เข้าสู่ระบบ
พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ เป็นเอกสารประเภทความย่อ เรียบเรียงเนื้อความขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งเป็นเอกสารที่ทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ เป็นการสรุปเหตุการณ์ โดยมากเป็นการสรุปใจความสำคัญสั้น ๆ ต่างจากเอกสารอื่น ๆ ที่ถูกแต่งเติมรายละเอียด โดยมากเรียบเรียงขึ้นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ อย่างไรก็ตาม การศึกษาครั้งนี้เป็นไปเพื่อประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าทางประวัติศาสตร์ อาศัยพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐเป็นจุดเริ่มต้นเพื่อเชื่อมโยงหลักฐานทางประวัติศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยาเข้าไว้ด้วยกัน
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ น.4
1.1 หลักการและเหตุผล น.4
1.2 วิธีการและแผนการดำเนินการ น.5
บทที่ 2 ว่าด้วยพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ น.7
2.1 การจัดกลุ่มพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา น.7
2.2 สังเขปพระราชพงศาวดารที่เรียบเรียงในสมัยกรุงศรีอยุธยา น.10
2.3 สังเขปพระราชพงศาวดารที่เรียบเรียงในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ น.12
บทที่ 3 ผลการวิจัยและบทวิเคราะห์ น.15
3.1 ประวัติเอกสาร น.15
3.2 โครงสร้างเนื้อหา น.16
บทที่ 4 บทสังเคราะห์และบทสังเคราะห์กลุ่มเหตุการณ์ น.21
4.1 ก่อนอยุธยา น.21
4.2 อยุธยารุ่นแรก น.26
4.3 กรุงพระนครศรีอยุธยาราชธานีใหม่ น.27
4.4 ความรุ่งเรืองและการขยายอำนาจ น.29
4.5 ความวุ่นวายสู่ความเป็นประเทศราช น.35
4.6 ความเป็นเอกราชสู่การขยายอำนาจครั้งใหม่ น.38
บทที่ 5 สรุปผล น.51
บรรณานุกรม น.53