| | เข้าสู่ระบบ
งานวิจัยเล่มนี้มุ่งศึกษาเพื่อทำความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตท้องถิ่น ตั้งแต่ยุคเกษตรกรรมแบบพึ่งพาธรรมชาติ ไปจนถึงยุคสังคมอุตสาหกรรมในปัจจุบัน โดยมองผ่านเลนส์ที่เกี่ยวกับความเชื่อและการกราบไหว้บูชาเจ้าพ่อเจ้าแม่ในฐานะสิ่งศักดิ์สิทธิ์และอำนาจเหนือธรรมชาติ โดยศึกษาในพื้นที่ชุมชนไทยเชื้อสายจีน ชุมชนไทยรามัญและชุมชนไทย ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร พบว่าคนท้องถิ่นเองมีการสืบทอดผสมผสาน ปรับใช้ความเชื่อเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์มาตั้งแต่อดีต โดยใช้สร้างความหมายให้กับการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป ในสังคมเกษตรกรรมแบบพึ่งพาธรรมชาติ ความเชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์จะสะท้อนการสร้างตัวตนผ่านการอยู่ร่วมกับคนอื่นและการมีสำนึกรับผิดชอบทางสังคม ขณะเดียวกันสังคมอุตสาหกรรม ความเชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์สะท้อนการสร้างตัวตนที่บุคคลเน้นแสวงหาความสุขและความสำเร็จส่วนตัวและการลดทอนสำนึกเพื่อส่วนรวม
บทที่ 1 บทนำ น.1
ที่มาของการศึกษาและความมสำคัญ น.1
วัตถุประสงค์ โทย์การวิจัย ของเขตการวิจัย น.3
ระเบียบวิธีวิจัย น.4
ทบทวนการศึกษาวิจัยและองค์ความรู้เกี่ยวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ น.30
บทที่ 2 สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในชุมชนไทยเชื้อสายจีน น.37
ชุมชนท่าจีนในมิติประวัติศาสตร์ น.37
ศาลเจ้าของชุมชนจีน น.42
ศาลเจ้าพ่อแบบไทยในชุมชนไทยเชื้อสายจีน น.76
ความสัมพันธ์ระหว่างวัดกับชาวไทยเชื้อสายจีน น.89
บทที่ 3 สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในชุมชนไทยรามัญ น.93
ประวัติการตั้งถิ่นฐานของชาวมอญในสมุทรสาคร น.93
ศาลเจ้าในชุมชนไทยรามัญ น.98
พิธีไหว้เจ้าพ่อเจ้าแม่ของชาวมอญ น.108
วัดของชุมชนมอญ น.111
ชุมชนมอญกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน น.128
บทที่ 4 สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในชุมชนไทย น.132
การตั้งถิ่นฐานของคนไทย ช่วงสมัยอยุธยาถึงธนบุรี น.132
การขยายตัวของชุมชนไทยในช่วงรัชกาลที่ 1-รัชกาลที่5 น.138
การเติบโตของชุมชนไทยในช่วงรัชกาลที่6-ปัจจุบัน น.141
งานประจำปีของวัด น.155
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประเภทเจ้าพ่อเจ้าแม่ น.156
บทที่ 5 สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของสาธารณชน กรณีเจ้าพ่อหลักเมืองและเจ้าพ่อพันท้ายนรสิงห์ น.162
ประวัติศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสมุทรสาคร น.162
ประเพณีแห่เจ้าพ่อหลักเมือง น.165
ข้อถกเถียงเกี่ยวกับพันท้ายนรสิงห์ น.169
ความเป็นมาของศาลพันม้ายนรสิงห์ น.170
พิธีบวงสรวงเจ้าพ่อพันท้ายนรสิงห์ น.184
บทที่ 6 บทวิเคราะห์ ความเชื่อสิ่งศักดิ์ในสังคมเมืองอุตสาหกรรม น.188
นิเวศวัฒนธรรมของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ น.188
นิเวศทางการเมืองของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ น.207
บทส่งท้าย แนวทางการส่งเสริมความเข้มแข็งของวัฒนธรรมท้องถิ่นในมิติความเชื่อ น.221
บรรณานุกรม น.224
เชิงอรรถ น.236