| | เข้าสู่ระบบ
รายงานวิจัยเรื่อง การปฏิสัมพันธ์ระหว่างชุมชนชาติพันธุ์ ในอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร นั้น เป็นไปเพื่อสำรวจและรวบรวมข้อมูลการรวมกลุ่มและพื้นที่ในการทำกิจกรรมทางสังคมวัฒนธรรมของชุมชนชาติพันธุ์ดั้งเดิม และชุมชนแรงงานข้ามชาติกลุ่มต่าง ๆ รวมทั้งเพื่อวิเคราะห์การปฏิสัมพันธ์ระหว่างชุมชนชาติพันธุ์ การปรับเปลี่ยนทัศนคติและความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนชาติพันธุ์ ซึ่งมีขอบเขตพื้นที่การวิจัยครั้งนี้ คือพื้นที่อำเภอเมืองสมุทรสาคร ประกอบด้วย 15 ตำบล เน้นศึกษาเฉพาะบริเวณที่มีแรงงานข้ามชาติพักอาศัยอยู่หนาแน่น มีการรวมกลุ่มเป็นย่านชุมชนที่พักอาศัย แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าในจังหวัดสมุทรสาครส่วนใหญ่มาจากกลุ่มชาติพันธุ์มอญ รองลงมาคือกลุ่มชาติพันธุ์ทวาย กลุ่มชาติพันธุ์พม่า ซึ่งจะเป็นกลุ่มหลักในการศึกษา เนื่องจากกลุ่มชาติพันธุ์ที่เคลื่อนย้ายมาจากประเทศเมียนมา มีจำนวนมากถึงร้อยละ 90 มีการรวมกลุ่มและเครือข่ายสังคมที่โดดเด่นชัดเจนเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มอื่นๆ
บทที่ 1 น.1
บทนำ น.1
หลักการเหตุผล น.1
วัตถุประสงค์ น.4
ระยะเวลาในการวิจัย น.4
ระเบียบวิธีวิจัย น.4
ขอบเขตการวิจัย น.5
รายละเอียดเนื้อหาการวิจัย น.6
บทที่ 2 น.7
แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง น.7
แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษา น.7
งานวิจัยและที่เกี่ยวข้อง น.18
บทที่ 3 น.31
การปฏิสัมพันธ์ระหว่างชุมชนชาติพันธุ์ในอำเภอเมืองสมุทรสาคร น.31
ชุมชนชาติพันธุ์ในอำเภอเมืองสมุทรสาคร น.31
การปฏิสัมพันธ์ระว่างชุมชนชาติพันธุ์ในบริบททางสังคมวัฒนธรรมของอำเภอเมืองสมุทรสาคร น.50
บทที่ 4 น.72
ชาติพันธุ์ข้ามชาติ : ปฏิบัติการและการแสดงออกทางวัฒนธรรม น.72
ปฏิบัติการและการแสดงออกทางวัฒนธรรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ น.73
พื้นที่ทางศาสนากับการต่อรองของการใช้พื้นที่ทางวัฒนธรรม น.74
การศึกษาข้ามชาติ : ศุนย์การเรียนรู้กับกระบวนการปลูกฝังวัฒนธรรมลูกผสม น.104
ชาติพันธุ์ข้ามชาติในมิติสังคมวัฒธรรม น.126
บทที่ 5 น.130
เครือข่ายทางสังคมกับชาติพันธุ์ข้ามชาติ น.130
เครือข่ายแรงงานข้ามชาติที่มีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการ น.131
เครือข่ายแรงงานข้ามชาติที่มีการจัดตั้งอย่างไม่เป็นทางการ น.148
สรุปความ : ข้อสังเกตจากการศึกษาภาคสนาม
บทที่ 6 น.182
บทสรุป และแนวทางการวิจัยในระยะที่ 2 น.182
บรรณานุกรม
ภาคผนวก