| | เข้าสู่ระบบ
งานวิจัยเล่มนี้มุ่งศึกษาโอกาสทางสังคมและเส้นทางชีวิตของสามเณรและเด็กวัดที่อาศัยอยู่ในพระอารามหลวงในเขตพระนครและเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร จากการศึกษาของผู้วิจัยพบว่าสามเณรและเด็กวัดส่วนใหญ่เป็นเด็กต่างจังหวัดที่ย้ายเข้ามาเรียนหนังสือในเมืองหลวง โดยสาเหตุที่สามเณรเข้ามาบวชเรียนเนื่องจากมีความศรัทธาและความชอบ ประกอบกับได้รับการชักชวนจากพระสงฆ์และครูอาจารย์ การหาโอกาสทางการศึกษา ลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว การมีญาติเป็นพระ หรือแม้กระทั่งไม่อยากอยู่บ้าน นอกจากนี้แล้วผู้วิจัยยังได้นำแนวคิด อำนาจเหนือธรรมชาติ เข้ามาช่วยวิเคราะห์บริบทของการสร้างพลเมืองของรัฐภายใต้อำนาจความรู้ที่ควบคุมชีวิตของเยาวชนให้อยู่ในกฎระเบียบทางศีลธรรม รวมทั้งบริบทของวัฒนธรรมบริโภคที่สามเณรและเด็กวัดกำลังแสวงหาตัวตนผ่านสื่อสมัยใหม่และสังคมออนไลน์
บทนำ น.1
ทำไมต้องศึกษาสามเณรและเด็กวัด น.1
ระเบียบวิธีวิจัย น.3
แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษา น.4
การนำแนวคิด "อำนาจเหนือีวิต" มาวิเคราะห์ชีวิตของสามเณรและเด็กวัดในสังคมไทย น.10
นิยามศัพท์ น.16
บทที่ 2 ทบทวนการศึกษาและองค์ความรู้เกี่ยวกับสามเณรและเด็กวัด น.17
การศึกษาบทบาทและจำนวนนของสามเณร น.17
การศึกษาเรื่องการบวชเป็นสามเณรและการปรับตัว น.18
การศึกษาเรื่องระบบการศึกษาของสามเณร น.23
การศึกษาความคิดและอัตลักษณ์ของสามเณร น.25
ข้อจำกัดของทฤษฎีและกระบวนทัศน์ที่ใช้สร้างความรู้เกี่ยวกับสามเณร/เด็กวัด น.27
บทที่ 3 กรณีศึกษา ชีวิตสามเณร น.33
บทที่ 4 กรณีศึกษา เส้นทางชีวิตเด็กวัด น.61
บทที่ 5 บทวิเคราะห์ สามเณรและเด็กวัด กับชีวิตภายใต้กฎระเบียบ น.79
เงื่อนไขและเส้นทางของการเป็นสามเณร น.79
เงื่อนไขของการเป็นเด็กวัด น.84
การสร้างพลเมืองในสถาบันพุทธศาสนา น.87
ภาพลักษณ์ของเด็กวัด น.93
ลักษณะสังคมผู้ชายของเด็กวัด น.95
ข้อดีของการเป็นเด็กวัด น.97
เปรียบเทียบชีวิตของสามเณรและเด็กวัด น.99
ข้อสังเกตชีวิตของสามเณรและเด็กวัดภายใต้ "อำนาจเหนือธรรมชาติ" น.100
บทส่งท้าย โอกาสทางสังคมของสามเณรและเด็กวัด น.108
บรรณานุกรม น.112