• หน้าหลัก
  • งานศึกษาวิจัย
  • โครงการวิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น : ระยะที่ 1 สร้างเครือข่ายและสำรวจสภาพพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น

โครงการวิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น : ระยะที่ 1 สร้างเครือข่ายและสำรวจสภาพพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น

นักวิจัย : ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล, ตรงใจ หุตางกูร, ศิริพร ศรีสินธุ์อุไร, ปณิตตา สระวาสี, สรินยา คำเมือง, ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, พื้นที่ : กรุงเทพมหานคร  , นนทบุรี  , นครปฐม  , ราชบุรี  , สมุทรสงคราม  , เพชรบุรี  , กาญจนบุรี  , นครสวรรค์  , ลพบุรี  , ชัยนาท  , ปทุมธานี  , สระบุรี  , สิงห์บุรี  , อ่างทอง  , อุทัยธานี  , สุพรรณบุรี  , ปราจีนบุรี  , สระแก้ว  , นครนายก  , ฉะเชิงเทรา  , สมุทรปราการ  , ชลบุรี  , ระยอง  , จันทบุรี  , ตราด  , เชียงราย  , เชียงใหม่  , แพร่  , ตาก  , น่าน  , พิษณุโลก  , แม่ฮ่องสอน  , ลำพูน  , สุโขทัย  , อุตรดิตถ์  , พะเยา  , ลำปาง  , ชุมพร  , ระนอง  , สุราษฎร์ธานี  , นครศรีธรรมราช  , ตรัง  , พัทลุง  , พังงา  , กระบี่  , ภูเก็ต  , สงขลา  , ปัตตานี  , สตูล  , ยะลา  , นราธิวาส  ,   ปี : 2547

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

การสำรวจพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย (กรกฎาคม 2546 - เมษายน 2547) ทั้งการศึกษาจากเอกสาร การจัดเวทีประชุมหารือกับบุคลากรในท้องถิ่นในภูมิภาคต่าง ๆ และการสำรวจภาคสนาม ซึ่งทำให้ได้รู้จักพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นรวม 128 แห่ง เป็นไปเพื่อให้เกิดความเข้าใจกระบวนการทางสังคมที่ทำให้เกิดการก่อตัวของพิพิธภัณฑ์ สภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และความต้องการของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น รวมทั้งเพื่อรู้จักตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งและดำเนินการของพิพิธภัณฑ์แต่ละแห่ง สำหรับเป็นพื้นฐานในการสร้างองค์ความรู้ ประกอบด้วยการรวบรวมเนื้อหาสร้างเป็นฐานข้อมูล งานวิจัย และงานด้านการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ ในฐานะองค์กรในการสร้างความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่น

 

  • ประเภท รายงานงานวิจัย 
  • สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ
  • สำนักพิมพ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • สิทธิ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • รูปแบบลิขสิทธิ์ Attribution-NonCommercial (CC BY-NC)

Additional Details

  • รหัส LC AM79.ท9ศ732 2547
  • ปีที่พิมพ์ 2547
  • จำนวนหน้า 402
  • สารบัญ

    บทคัดย่อ  น.(1)

    ความนำ  น.1

    ส่วนที่ 1 ความหมายสากลของพิพิธภัณฑ์ และพัฒนาการของ "พิพิธภัณฑ์แห่งกรุงสยาม"  น.5

    ส่วนที่ 2 ความหมายของสิ่งของ จากการสะสมถึงพิพิธภัณฑสถานในยุโรป  น.23

    ส่วนที่ 3 การก่อตัวของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นไทย ในบริบทของนโยบายรัฐ  น.31

    ส่วนที่ 4 วิธีการเก็บข้อมูล และข้อมูลพื้นฐาน  น.43

    ส่วนที่ 5 ความหลากหลายของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น  น.53

    ส่วนที่ 6 พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในฐานะองค์กรทางวัฒนธรรม: ประเด็นสำหรับพิจารณาความเข้มแข็งและความต้องการ  น.74

    ส่วนที่ 7 ข้อเสนอการดำเนินงานวิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น  น.83

    บรรณานุกรม  น.85

    ภาคผนวก  น.91

  • ประวัติการสร้างและการเก็บรักษา ห้องสมุดศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • สถาบัน / หน่วยงาน ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร 
  • ภาษาต้นฉบับ ไทย
  • เรื่องที่เกี่ยวข้อง รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ วิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ระยะที่2 จัดทำฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น
  • สถานที่ กรุงเทพมหานคร, นนทบุรี, นครปฐม, ราชบุรี, สมุทรสงคราม, เพชรบุรี, กาญจนบุรี, นครสวรรค์, ลพบุรี, ชัยนาท, ปทุมธานี, สระบุรี, สิงห์บุรี, อ่างทอง, อุทัยธานี, สุพรรณบุรี, ปราจีนบุรี, สระแก้ว, นครนายก, ฉะเชิงเทรา, สมุทรปราการ, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, ตราด, เชียงราย, เชียงใหม่, แพร่, ตาก, น่าน, พิษณุโลก, แม่ฮ่องสอน, ลำพูน, สุโขทัย, อุตรดิตถ์, พะเยา, ลำปาง, ชุมพร, ระนอง,สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช, ตรัง, พัทลุง, พังงา, กระบี่, ภูเก็ต, สงขลา, ปัตตานี, สตูล, ยะลา, นราธิวาส,

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล และคณะ. (2547). โครงการวิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น : ระยะที่ 1 สร้างเครือข่ายและสำรวจสภาพพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 , จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=62

MLA

ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล และคณะ. โครงการวิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น : ระยะที่ 1 สร้างเครือข่ายและสำรวจสภาพพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2547. ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568  

HARVARD

ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล และคณะ, 2547. โครงการวิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น : ระยะที่ 1 สร้างเครือข่ายและสำรวจสภาพพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น. [Online]. กรุงเทพฯศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=62 [ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 ]

File Download

File Name Size Download
ปก 850.84 KB
บทคัดย่อ, สารบัญ, ความนำ 2.86 MB
ส่วนที่ 1 ความหมายสากลของพิพิธภัณฑ์ และพัฒนาการของ "พิพิธภัณฑ์แห่งกรุงสยาม" 6.6 MB
ส่วนที่ 2 ความหมายของสิ่งของ จากการสะสมถึงพิพิธภัณฑสถานในยุโรป 3.15 MB
ส่วนที่ 3 การก่อตัวของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นไทย ในบริบทของนโยบายรัฐ 4.5 MB
ส่วนที่ 4 วิธีการเก็บข้อมูล และข้อมูลพื้นฐาน 3.07 MB
ส่วนที่ 5 ความหลากหลายของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น 8.93 MB
ส่วนที่ 6 พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในฐานะองค์กรทางวัฒนธรรม: ประเด็นสำหรับพิจารณาความเข้มแข็งและความต้องการ 3.42 MB
ส่วนที่ 7 ข้อเสนอการดำเนินงานิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น 720.35 KB
บรรณานุกรม 1.74 MB
ภาคผนวก 107.58 MB
เอกสารฉบับเต็ม 139.93 MB