คำอธิบาย / บทคัดย่อ

งานวิจัยทางวิชาการชิ้นนี้เป็นความพยายามที่จะทำความเข้าใจที่มาและความเป็นไปของ "วัด" โดยมองจากพัฒนาการการใช้พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่มีความเกี่ยวข้องกับชุมชนมนุษย์มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ลักษณะเป็นเนินหลุมดินฝังศพของหมู่บ้านสูงเด่นกว่าระดับพื้นทั่วไป ยุคเหล็กเจ้าของเครื่องมือหินขัด บรรจงปักหินแบ่งแยกหลุมศพและพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ของชุมชนออกจากเขตที่พักอาศัย หินตั้งถูกปรับเปลี่ยนให้อยู่ในรูปของเสมา ต่อมาพุทธศาสนาได้รับการยอมรับและแพร่หลายล่วงมาจนถึงสมัยสุโขทัย พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ที่เรารับรู้ในนามของ "วัด" ปรากฏเป็นครั้งแรก จนมาถึงสมัยอยุธยาวัดได้กลายเป็นศูนย์กลางของชุมชนอย่างแท้จริง

  • ประเภท รายงานงานวิจัย 
  • สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ
  • สำนักพิมพ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • สิทธิ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • รูปแบบลิขสิทธิ์ Attribution-NonCommercial (CC BY-NC)

Additional Details

  • รหัส LC BQ4570.ส6ค94
  • ปีที่พิมพ์ 2546
  • จำนวนหน้า 103
  • สารบัญ

    ความนำ  น.3

    1.วัดกับความเป็นชุมชน  น.5

    2.วัดกับพระ และชาวบ้าน  น.32

    3.วัดกับรัฐ  น.50

    4.วัดกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม  น.69

    สรุป  น.93

  • ประวัติการสร้างและการเก็บรักษา ห้องสมุดศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • สถาบัน / หน่วยงาน ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร 
  • ภาษาต้นฉบับ ไทย

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

ศรีศักร วัลลิโภดม และคณะ. (2546). วัดกับชุมชน. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 , จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=27

MLA

ศรีศักร วัลลิโภดม และคณะ. วัดกับชุมชน. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2546. ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568  

HARVARD

ศรีศักร วัลลิโภดม และคณะ, 2546. วัดกับชุมชน. [Online]. กรุงเทพฯศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=27 [ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 ]

File Download

File Name Size Download
ปก 342.34 KB
สารบัญ, ความนำ 987.58 KB
วัดกับความเป็นชุมชน 11.05 MB
วัดกับพระ และชาวบ้าน 7.66 MB
วัดกับรัฐ 7.91 MB
วัดกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม 10.39 MB
สรุป 4.26 MB
เอกสารฉบับเต็ม 42.53 MB