ชาติพันธุ์วรรณาว่าด้วยภาษาในภาวะวิกฤตระยะสุดท้าย: ชอง ชอุ้ง กะซอง และซำเร (ระยะที่ 1)

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

ปัญหาภาวะวิกฤตของภาษา เป็นปัญหาที่สำคัญที่ได้รับความสนใจในระดับนานาชาติ เพราะภาษาเป็นเครื่องมือสื่อสารในวิถีชีวิตของกลุ่มชนต่างๆ สำหรับประเทศไทยมีความหลากหลายด้านภาษาและวัฒนธรรมมากกว่า 70 กลุ่มภาษา จากการศึกษาพบภาษาที่อยู่ในภาวะวิกฤตใกล้สูญจำนวน 15 กลุ่ม ซึ่งในจำนวน 15 กลุ่มนี้ พบว่ามี 4 กลุ่มภาษาที่อยู่ใน "ภาวะวิกฤตหนัก" เป็นภาษาที่กฤตระยะสุดท้าย ได้แก่ กลุ่มชอง กลุ่มกะซอง กลุ่มซำเร และกลุ่มชอุ้ง จัดเป็นภาษาที่อยู่ใสตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขาเพียริก โดยโครงการวิจัยได้เลือกทำการศึกษาทั้ง 4 กลุ่มภาษา ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี ตราด และกาญจนบุรี

  • ประเภท รายงานงานวิจัย 
  • สถานที่พิมพ์ นครปฐม
  • สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • สิทธิ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • รูปแบบลิขสิทธิ์ Attribution-NonCommercial (CC BY-NC)

Additional Details

  • ปีที่พิมพ์ 2563
  • จำนวนหน้า 149
  • สารบัญ

    บทที่ 1 บทนำ 

    1.ความสำคัญของการวิจัย  น.1

    2.วัตถุประสงค์ของการวิจัย  น.2

    3.กลุ่มเป้าหมายและพื้นที่เป้าหมาย  น.2

    4.ขอบเขตการวิจัย  น.3

    5.ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย  น.3

    6.คำอธิบายเรื่องชื่อภาษา  น.3

    7.ที่ปรึกษาโครงการ  น.4

    บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม 

    1.แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัย  น.5

    2.ความรู้เกี่ยวกับภาษาในภาวะวิกฤต  น.7

    3.ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มย่อยเพียริก  น.15

    4.กลุ่มชาติพันธุ์ชอง  น.19

    5.กลุ่มชาติพันธุ์กะซอง  น.32

    6.กลุ่มชาติพันธุ์ซำเร  น.40

    7.กลุ่มชาติพันธุ์ชอุ้ง  น.45

    8.สรุปการทบทวนวรรณกรรม  น.48

    บทที่ 3 วิธีการดำเนินงานวิจัย

    1.ระเบียบวิธีวิจัย  น.49

    2.กิจกรรมการดำเนินงานวิจัย  น.50

    บทที่ 4 ชีวประวัติของภาษาในระยะสุดท้าย

    1.ภาพรวม  น.54

    2.ภาษาชอง  น.56

    3.ภาษากะซอง  น.61

    4.ภาษาซำเร  น.70

    5.ภาษาชอุ้ง  น.72

    บทที่ 5 ความรู้สึกของผู้สูญเสียภาษา

    1.ความรู้สึกที่ซ้อนทับกัน  น.82

    2.พ่อแม่พี่น้องความทรงจำ  น.83

    3.คุณค่า สำคัญ เสียดาย พยายาม  น.88

    4.เสียใจ ดีใจ ภูมิใจ เก็ยรักษา  น.92

    บทที่ 6 สรุป

    1.สถานการณ์การสับเปลี่ยนที่ทำให้ภาษาเสี่ยงต่อการสูญหาย  น.98

    2.ชีวประวัติของการสูญเสียภาวะทวิภาษา  น.99

    3.ภาษา : ความตายและความทรงจำ  น.100

    4.ข้ออภิปราย  น.101

    5.ข้อเสนอแนะ  น.102

    บรรณานุกรม  น.103

    ภาคผนวก  น.110

    1.ระบบเสียงและคำศัพท์พื้นฐาน  น.110

    2.คำศัพท์ภาษากะซอง  น.117

    3.คำศัพท์ภาษาชอง  น.123

    4.คำศัพท์ภาษาชอุ้ง  น.130

    5.คำศัพท์ภาษาซำเร  น.137

    6.ภาพประกอบการทำกิจกรรม  น.143

  • ประวัติการสร้างและการเก็บรักษา ปัจจุบันรายงานวิจัยฉบับนี้เก็บรักษาอยู่ที่กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา
  • สถาบัน / หน่วยงาน มหาวิทยาลัยมหิดล 
  • ภาษาต้นฉบับ ไทย
  • สถานที่ จันทบุรี, ตราด, กาญจนบุรี,

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

อิสระ ชูศรี และคณะ. (2563). ชาติพันธุ์วรรณาว่าด้วยภาษาในภาวะวิกฤตระยะสุดท้าย: ชอง ชอุ้ง กะซอง และซำเร (ระยะที่ 1). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล. ค้นคืนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567 , จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=254

MLA

อิสระ ชูศรี และคณะ. ชาติพันธุ์วรรณาว่าด้วยภาษาในภาวะวิกฤตระยะสุดท้าย: ชอง ชอุ้ง กะซอง และซำเร (ระยะที่ 1). มหาวิทยาลัยมหิดล,2563. ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567  

HARVARD

อิสระ ชูศรี และคณะ, 2563. ชาติพันธุ์วรรณาว่าด้วยภาษาในภาวะวิกฤตระยะสุดท้าย: ชอง ชอุ้ง กะซอง และซำเร (ระยะที่ 1). [Online]. นครปฐมมหาวิทยาลัยมหิดล. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=254 [ค้นคืนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567 ]

File Download

File Name Size Download
ปก 63.17 KB
สารบัญ 169.42 KB
บทที่ 1 บทนำ 231.33 KB
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม 1.58 MB
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงานวิจัย 253.77 KB
บทที่ 4 ชีวประวัติของภาษาในระยะสุดท้าย 822.94 KB
บทที่ 5 ความรู้สึกของผู้สูญเสียภาษา 505.51 KB
บทที่ 6 สรุป 247.85 KB
บรรณานุกรม 276.53 KB
ภาคผนวก 3.19 MB
เอกสารฉบับเต็ม 7.07 MB