• หน้าหลัก
  • งานศึกษาวิจัย
  • แนวทางการจัดการเขตพื้นที่ทำกิน ที่อยู่อาศัย และการฟื้นฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงบ้านภูเหม็น ตำบลทองหลาง อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี

แนวทางการจัดการเขตพื้นที่ทำกิน ที่อยู่อาศัย และการฟื้นฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงบ้านภูเหม็น ตำบลทองหลาง อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

การศึกษาเรื่อง “แนวทางการจัดการเขตพื้นที่ทํากิน ที่อยู่อาศัย และการฟื้นฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรม ของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงบ้านภูเหม็น ตําบลทองหลาง อําเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี” มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์เชิงพื้นที่ วิถีชีวิตวัฒนธรรม และสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่าง รัฐกับชุมชนด้านการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ในเขตพื้นที่ทํากินและที่อยู่อาศัยของชุมชนกะเหรี่ยงบ้านภูเหม็น เพื่อศึกษาวิเคราะห์และถอดบทเรียนรูปแบบการจัดการความขัดแย้งเชิง สร้างสรรค์ด้านการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ในเขตพื้นที่ชุมชนบ้านภูเหม็น ตามมติคณะรัฐมนตรี 3 สิงหาคม 2553 และเพื่อเสนอแนวทางการจัดการเขตพื้นที่ทํากิน ที่อยู่อาศัย และการฟื้นฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ ผลการวิจัยพบว่า ชุมชนกะเหรี่ยงบ้านภูเหม็น เป็นชุมชนดั้งเดิมมีประวัติศาสตร์ตั้งถิ่นฐานมาอย่างยาวนาน ในอดีตทําเกษตรแบบไร่หมุนเวียน ปัจจุบันเหลือเพียงการทําไร่ข้าว นับถือ “เจ้าวัด” ซึ่งเป็นผู้นําทางจิตวิญญาณ มีสถานการณ์ความขัดแย้งอย่างรุนแรงระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับชุมชน ที่มีผลจากการประกาศป่าสงวนแห่งชาติ สวนป่า และวนอุทยานทับที่ดินทํากินและที่อยู่อาศัยของชุมชนที่เคยอาศัยอยู่มาก่อน จากการศึกษา พบว่า แนวทางการจัดการที่ดินทํากิน ที่อยู่อาศัย และการฟื้นฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรม ควรบริหารจัดการในรูปแบบพื้นที่คุ้มครองทางวัฒนธรรม หรือ พื้นที่วัฒนธรรมพิเศษ โดย กําหนดแนวเขตรอบนอกให้ชัดเจน ภายในให้จัดโซนพื้นที่อย่างละเอียดทั้งพื้นที่การใช้ประโยชน์ และพื้นที่อนุรักษ์ แล้วร่วมกันบริหารจัดการร่วมกัน ตามมติคณะรัฐมนตรี 3 สิงหาคม 2553 

  • ประเภท รายงาน 
  • สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ
  • สำนักพิมพ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • สิทธิ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • รูปแบบลิขสิทธิ์ Attribution-NonCommercial (CC BY-NC)

Additional Details

  • ปีที่พิมพ์ 2563
  • จำนวนหน้า 231
  • สารบัญ

    บทคัดย่อ  น.(ก)

    สารบัญ  น.(ค)

    บทที่ 1 บทนำ  น.1

    1.1 ที่มาและความสำคัญของปัญหา  น.1

    1.2 วัตถุประสงค์  น.5

    1.3 ขอบเขตของการวิจัย  น.6

    1.4 วิธีการศึกษา  น.7

    1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ  น.13

    บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง  น.14

    2.1 แนวคิดนิเวศวิทยาวัฒนธรรม  น.14

    2.2 แนวคิดเกี่ยวกับความยั่งยืนทางนิเวศ  น.21

    2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างพื้นที่ทางสังคม  น.28

    2.4 แนวคิดสิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ  น.46

    2.5 แนวคิดระบอบกรรมสิทธิ์กับการจัดการทรัพยากรส่วนรวม  น.62

    2.6 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง  น.74

    2.7 กรอบความคิดที่ใช้ในการวิจัย  น.82

    บทที่ 3 ประวัติศาสตร์เชิงพื้นที่ วิถีชีวิตวัฒนธรรมชุมชนกะเหรี่ยงบ้านภูเหม็น และสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัฐกับชุมชน  น.83

    3.1 ประวัติศาสตร์เชิงพื้นที่ ภูมิวัฒนธรรมชาติพันธุ์กะเหรี่ยง  น.84

    3.2 อัตลักษณ์ ชาติพันธุ์และวิถีวัฒนธรรมชุมชนกะเหรี่ยงบ้านภูเหม็น  น.93

    3.3 สถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัฐกับชุมชนด้านการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ในเขตพื้นที่ชุมชนกะเหรี่ยงบ้านภูเหม็น  น.121

    บทที่ 4 รูปแบบการจัดการความขัดแย้งเชิงสร้างสรรค์ด้านการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ในเขตพื้นที่ชุมชนบ้านภูเหม็น ตามมติคณะรัฐมนตรี 3 สิงหาคม 2553  น.133

    4.1 ความขัดแย้งและการจัดการ : ปัญหาเชิงโครงสร้างระหว่างกฎหมายกับวิถีวัฒนธรรม  น.133

    4.2 พื้นที่วัฒนธรรมพิเศษ : มติครม. 3 สิงหาคม 2553 กับความหวังบนความท้าทาย  น.150

    4.3 รูปแบบการจัดการความขัดแย้งเชิงสร้างสรรค์ตามมติคณะรัฐมนตรี 3 สิงหาคม 2553  น.160

    บทที่ 5 แนวทางการจัดการเขตพื้นที่ทำกิน ที่อยู่อาศัย และการฟื้นฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรมกะเหรี่ยง  น.169

    5.1 แนวทางการจัดการพื้นที่คุ้มครองวัฒนธรรม ตามมติครม. 3 สิงหาคม 2553  น.169

    5.2 แนวทางการจัดการเขตพื้นที่ทำกินและที่อยู่อาศัย  น.175

    5.3 แนวทางการฟื้นฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงบ้านภูเหม็น  น.177

    5.4 สรุปแนวทางการจัดการเขตพื้นที่ทำกิน ที่อยู่อาศัย และการฟื้นฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรมกะเหรี่ยง  น.181

    บทที่ 6 สรุปและข้อเสนอแนะ  น.187

    6.1 สรุป  น.188

    6.2 อภิปรายผลการวิจัย  น.199

    6.3 ข้อเสนอแนะ  น.202

    บรรณานุกรม  น.205

  • ประวัติการสร้างและการเก็บรักษา ปัจจุบันรายงานฉบับนี้เก็บรักษาอยู่ที่ กลุ่มงานสื่อสารความรู้และเครือข่ายสัมพันธ์ งานสนับสนุนกระบวนการฟื้นฟูวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์
  • ภาษาต้นฉบับ ไทย
  • สถานที่ อุทัยธานี,

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

วรวิทย์ นพแก้ว และคณะ. (2563). แนวทางการจัดการเขตพื้นที่ทำกิน ที่อยู่อาศัย และการฟื้นฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงบ้านภูเหม็น ตำบลทองหลาง อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 , จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=247

MLA

วรวิทย์ นพแก้ว และคณะ. แนวทางการจัดการเขตพื้นที่ทำกิน ที่อยู่อาศัย และการฟื้นฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงบ้านภูเหม็น ตำบลทองหลาง อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2563. ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568  

HARVARD

วรวิทย์ นพแก้ว และคณะ, 2563. แนวทางการจัดการเขตพื้นที่ทำกิน ที่อยู่อาศัย และการฟื้นฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงบ้านภูเหม็น ตำบลทองหลาง อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี. [Online]. กรุงเทพฯศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=247 [ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 ]

File Download

File Name Size Download
ปก 113.38 KB
บทสรุปผู้บริหาร, บทคัดย่อ, สารบัญ 730.7 KB
บทที่ 1 บทนำ 427.66 KB
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1.72 MB
บทที่ 3 ประวัติศาสตร์เชิงพื้นที่ วิถีชีวิตวัฒนธรรมชุมชนกะเหรี่ยงบ้านภูเหม็น และสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัฐกับชุมชน 3.4 MB
บทที่ 4 รูปแบบการจัดการความขัดแย้งเชิงสร้างสรรค์ด้านการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ 3.09 MB
บทที่ 5 แนวทางการจัดการเขตพื้นที่ทำกิน ที่อยู่อาศัย และการฟื้นฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรมกะเหรี่ยง 1 MB
บทที่ 6 สรุปและข้อเสนอแนะ 462.72 KB
บรรณานุกรม 191.78 KB
เอกสารฉบับเต็ม 10.59 MB