• หน้าหลัก
  • งานศึกษาวิจัย
  • นัยสำคัญของ "พื้นที่คุ้มครอง" ต่อวิถีชีวิตของผู้คน พรรณพืช พรรณสัตว์ และภูมิทัศน์ทางชีวกายภาพ (ระยะที่ 1)

นัยสำคัญของ "พื้นที่คุ้มครอง" ต่อวิถีชีวิตของผู้คน พรรณพืช พรรณสัตว์ และภูมิทัศน์ทางชีวกายภาพ (ระยะที่ 1)

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

โครงการ “นัยสําคัญของ “พื้นที่คุ้มครอง” ต่อวิถีชีวิตของผู้คน พรรณพืช พรรณสัตว์ และภูมิทัศน์ทาง ชีวกายภาพ (ระยะที่ 1)” ศึกษาข้อถกเถียงว่าด้วยผลกระทบของ “พื้นที่คุ้มครอง” ต่อวิถีชีวิตของผู้คนพื้นถิ่น พรรณพืช พรรณสัตว์ และภูมิทัศน์ทางชีวกายภาพ ด้วยกรอบการทําความเข้าใจเชิงเปรียบเทียบข้ามสังคม วัฒนธรรม โดยแบ่งวิธีการศึกษาออกเป็นสองส่วนคือ การวิจัยเอกสาร และ การศึกษาภาคสนามเชิงชาติพันธุ์ วรรณนา โครงการวิจัยนี้นําเสนอเนื้อหาหลัก 3 ประเด็นคือ ประเด็นแรก ทบทวนความสําคัญของข้อถกเถียง เกี่ยวกับการศึกษาพื้นที่คุ้มครองในทางมานุษยวิทยา ประเด็นที่สอง นําเสนอพัฒนาการอย่างย่อของแนว การศึกษา “นิเวศวิทยาการเมือง” โดยจัดวางการทําความเข้าใจลงบนข้อถกเถียงว่าด้วยการแบ่งยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ของยุคสมัยปัจจุบัน และประเด็นที่สาม นําเสนอประวัติศาสตร์วิธีคิดของ “พื้นที่คุ้มครอง” ทั้งใน ฐานะที่เป็นปรากฏการณ์ทางสังคม นิเวศวิทยา และประวัติศาสตร์ และทั้งพื้นที่ศึกษาทางวิชาการ 

  • ประเภท รายงาน 
  • สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ
  • สำนักพิมพ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • สิทธิ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • รูปแบบลิขสิทธิ์ Attribution-NonCommercial (CC BY-NC)

Additional Details

  • ปีที่พิมพ์ 2563
  • จำนวนหน้า 41
  • สารบัญ

    บทสรุปผู้บริหาร  I

    บทคัดย่อ  II

    สารบัญ  III

    บทที่ 1 บทนำ  น.1

    แนวคิดและวิธีการศึกษา  น.1

    ร่างเค้าโครงเนื้อหา  น.5

    บทที่ 2 ผลการศึกษาและบทวิเคราะห์  น.7

    ความสำคัญของการศึกษา "พื้นที่คุ้มครอง" ในทางมานุษยวิทยา  น.7

    นิเวศวิทยาการเมืองกับข้อถกเถียงว่าด้วยการอนุรักษ์ในสมัยของทุน  น.11

    ประวัติศาสตร์ความคิดของ "พื้นที่คุ้มครอง"  น.14

    บทที่ 3 สรุปผลการดำเนินโครงการและข้อเสนอแนะ  น.19

    ผลการดำเนินโครงการ  น.19

    สถานการณ์ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ  น.20

    แผนการดำเนินโครงการระยะถัดไป  น.21

    รายการอ้างอิง  น.22

    ภาคผนวก  น.25

    กรณีตัวอย่างจากประเทศเพื่อนบ้านในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  น.25

    ข้อสังเกตเบื้องต้นจากกรณีตัวอย่างในประเทศไทย  น.27

    ภาพถ่ายการเดินทางเก็บข้อมูล  น.31

  • ประวัติการสร้างและการเก็บรักษา ปัจจุบันรายงานฉบับนี้เก็บรักษาอยู่ที่ กลุ่มงานสื่อสารความรู้และเครือข่ายสัมพันธ์ งานสนับสนุนกระบวนการฟื้นฟูวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์
  • ภาษาต้นฉบับ ไทย

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

ณภัค เสรีรักษ์ และกษมาพร แสงสุระธรรม. (2563). นัยสำคัญของ "พื้นที่คุ้มครอง" ต่อวิถีชีวิตของผู้คน พรรณพืช พรรณสัตว์ และภูมิทัศน์ทางชีวกายภาพ (ระยะที่ 1). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567 , จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=246

MLA

ณภัค เสรีรักษ์ และกษมาพร แสงสุระธรรม. นัยสำคัญของ "พื้นที่คุ้มครอง" ต่อวิถีชีวิตของผู้คน พรรณพืช พรรณสัตว์ และภูมิทัศน์ทางชีวกายภาพ (ระยะที่ 1). ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2563. ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567  

HARVARD

ณภัค เสรีรักษ์ และกษมาพร แสงสุระธรรม, 2563. นัยสำคัญของ "พื้นที่คุ้มครอง" ต่อวิถีชีวิตของผู้คน พรรณพืช พรรณสัตว์ และภูมิทัศน์ทางชีวกายภาพ (ระยะที่ 1). [Online]. กรุงเทพฯศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=246 [ค้นคืนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567 ]

File Download

File Name Size Download
ปก 55.64 KB
บทสรุปผู้บริหาร, บทคัดย่อ, สารบัญ 292.77 KB
บทที่ 1 บทนำ 379.64 KB
บทที่ 2 ผลการศึกษาและบทวิเคราะห์ 513.13 KB
บทที่ 3 สรุปผลการดำเนินโครงการและข้อเสนอแนะ 292.75 KB
รายการอ้างอิง 223.73 KB
ภาคผนวก 4.65 MB
เอกสารฉบับเต็ม 5.33 MB