พลวัตและการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์พวน

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มุ่งศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์พวนในหลายด้าน อันได้แก่ ด้านการศึกษาพลวัตและการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์พวน พบว่าปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง คือ การใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการสื่อสารการรับรู้ข้อมูลต่างๆ กระแสความนิยม รวมถึงการเข้าเรียนในระบบการศึกษาของไทยภาคบังคับ ซึ่งให้ผู้เข้าเรียนใช้ภาษากลางในการสื่อสารพูดคุย มีการนำวัฒนธรรมของชาวพวนมาพัฒนากิจกรรมให้เกิดความโดดเด่นหรือการผลิตใหม่ เพื่อปรับตัวให้เข้ากับสภาพปัจจุบันของแต่ละพื้นที่ และสร้างการรับรู้เกี่ยวกับเรื่องราวของชาวไทยพวนให้กับคนทั่วไปได้รู้จัก ยอมรับจนเกิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมขึ้น ส่วนในด้านการสืบทอดของกลุ่มชาติพันธุ์พวน พบว่า ชาวพวนรับรู้และมีสำนึกในความเป็นกลุ่มชาติพันธุ์พวนที่อพยพมาจากประเทศลาวเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทย มีการสร้างตัวตน และการยอมรับโดยการรวมกลุ่มเพื่อทำกิจกรรมต่างๆ ผ่านเครือข่ายทั้งในระดับหมู่บ้านจนถึงระดับประเทศ

 

  • ประเภท รายงานงานวิจัย 
  • สถานที่พิมพ์ เชียงใหม่
  • สำนักพิมพ์ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • สิทธิ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • รูปแบบลิขสิทธิ์ Attribution-NonCommercial (CC BY-NC)

Additional Details

  • รหัส LC DS570.อ6 ร23 2562
  • ปีที่พิมพ์ 2562
  • จำนวนหน้า 222
  • สารบัญ

    กิตติกรรมประกาศ  น.(ข)

    บทคัดย่อภาษาไทย  น.(ค)

    ABSTRACT  น.(จ)

    สารบัญ  น.(ช)

    สารบัญตาราง  น.(ญ)

    สารบัญภาพ  น.(ฎ)

    บทที่ 1 บทนำ  น.1

    1.1 ที่มาและความสำคัญของปัญหา  น.1

    1.2 คำถามการวิจัย  น.3

    1.3 วัตถุประสงค์  น.3

    1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ   น.3

    1.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา  น.4

    1.6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ  น.5

    บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง  น.7

    2.1 แนวคิดเรื่องความเป็นชาติพันธุ์  น.7

    2.2 แนวคิดการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวทางวัฒนธรรม  น.10

    2.3 แนวคิดวัฒนธรรมกลายเป็นสินค้า  น.12

    2.4 ทฤษฎีการผสมผสานทางวัฒนธรรม  น.12  

    2.5 ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม  น.13

    2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง  น.15

    บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย  น.22

    3.1 พื้นที่ดำเนินการวิจัย  น.22

    3.2 กลุ่มเป้าหมาย  น.23

    3.3 หน่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล  น.23

    3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล  น.23

    3.5 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย  น.24

    3.6 การวิเคราะห์ข้อมูล  น.25

    3.7 แผนการดำเนินงาน  น.26

    บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล  น.27

    4.1 พลวัตและการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์พวน  น.27

    4.2 การสืบทอดของกลุ่มชาติพันธุ์พวน  น.153

    4.3 การเผยแพร่ความรู้ของกลุ่มชาติพันธุ์พวน  น.160           

    บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ  น.168

    5.1  สรุปผลการวิจัย  น.168

    5.2  อภิปรายผล  น.188

    5.3  ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยในครั้งต่อไป  น.194

    บรรณานุกรม  น.195

    ภาคผนวก  น.198

    ภาคผนวก ก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

    ภาคผนวก ข รายนามผู้ให้สัมภาษณ์

     

  • ประวัติการสร้างและการเก็บรักษา ห้องสมุดศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • สถาบัน / หน่วยงาน สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 
  • ภาษาต้นฉบับ ไทย
  • สถานที่ แพร่, อุดรธานี, สุพรรณบุรี, เพชรบุรี,

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

รชพรรณ ฆารพันธ์ และปณต สุสุวรรณ. (2562). พลวัตและการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์พวน. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ค้นคืนเมื่อ 24 มกราคม 2568 , จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=240

MLA

รชพรรณ ฆารพันธ์ และปณต สุสุวรรณ. พลวัตและการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์พวน. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2562. ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 24 มกราคม 2568  

HARVARD

รชพรรณ ฆารพันธ์ และปณต สุสุวรรณ, 2562. พลวัตและการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์พวน. [Online]. เชียงใหม่สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=240 [ค้นคืนเมื่อ 24 มกราคม 2568 ]

File Download

File Name Size Download
ปก 87.94 KB
กิตติกรรมประกาศ, บทคัดย่อลสารบัญ 1.2 MB
บทที่ 1 บทนำ 917.89 KB
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.97 MB
บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 759.21 KB
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 23.86 MB
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 4.58 MB
บรรณานุกรม 469.89 KB
ภาคผนวก 1.16 MB
เอกสารฉบับเต็ม 24.45 MB