• หน้าหลัก
  • งานศึกษาวิจัย
  • พลวัตชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยงฝั่งตะวันตกของประเทศไทย ในเขตตอนบนจังหวัดตากและจังหวัดกำแพงเพชร ชุดโครงการศึกษาวิจัยพลวัตของชุมชนชาติพันธุ์เพื่อการสร้างแผนที่วัฒนธรรมมีชีวิต ปีที่ 1 (พ.ศ. 2562)

พลวัตชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยงฝั่งตะวันตกของประเทศไทย ในเขตตอนบนจังหวัดตากและจังหวัดกำแพงเพชร ชุดโครงการศึกษาวิจัยพลวัตของชุมชนชาติพันธุ์เพื่อการสร้างแผนที่วัฒนธรรมมีชีวิต ปีที่ 1 (พ.ศ. 2562)

นักวิจัย : พิเชฐ สายพันธ์, พื้นที่ : ตาก  , กำแพงเพชร  ,   ปี : 2562

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

ลักษณะวัฒนธรรมของชาวกะเหรี่ยงในพื้นที่ศึกษา โครงการวิจัย “พลวัตชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยงฝั่งตะวันตกของประเทศไทย ในเขตตอนบนของจังหวัดตากและกำแพงเพชร” มีความซับซ้อนระหว่างพลวัตที่เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงตามเงื่อนไขเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์  การเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากการพัฒนาโดยเฉพาะตั้งแต่การสร้างเขื่อนภูมิพลที่อำเภอสามเงา  จังหวัดตาก  เป็นต้นมา  ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากผลกระทบทางการเมืองระหว่างประเทศทำให้มีการอพยพข้ามแดนของชาวกะเหรี่ยงและการตั้งศูนย์อพยพในฝั่งประเทศไทยตามแนวจังหวัดตากและแม่ฮ่องสอน  ทำให้เห็นผลกระทบต่อแบบแผนภูมิปัญญาอย่างสอดคล้องกับระบบนิเวศน์ที่เผชิญกับการเปลี่ยนผ่านทั้งเกี่ยวข้องกับป่าและพื้นราบ  รวมถึงความเชื่อที่ทำให้เกิดการแบ่งกลุ่มที่แตกต่าง  เป็นผลมาจากกระบวนการทางประวัติศาสตร์สังคมที่ผ่านมา  ตลอดจนเงื่อนไขทางการเมืองระหว่างประเทศและการเมืองที่ต้องต่อรองกับปัญหาที่ทำกินและการตั้งถิ่นฐานจากผลของการพัฒนาและนโยบายที่ทำกินในพื้นที่ป่าไม้ในประเทศไทย  ปัญหาของกะเหรี่ยงในพื้นที่นี้จึงมีลักษณะซับซ้อน  และเป็นประเด็นมีความน่าสนใจที่ควรทำการศึกษาเพื่อทำความเข้าใจสถานการณ์ทางชาติพันธุ์ของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงกลุ่มนี้

  • ประเภท รายงานงานวิจัย 
  • สถานที่พิมพ์ ปทุมธานี
  • สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • สิทธิ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • รูปแบบลิขสิทธิ์ Attribution-NonCommercial (CC BY-NC)

Additional Details

  • รหัส LC DS570.ก65 พ62 2562
  • ปีที่พิมพ์ 2562
  • จำนวนหน้า 254
  • สารบัญ

    บทคัดย่อ  น.3

    คำนำ  น.4

    สารบัญ  น.5 

    สารบัญตารางและภาพ  น.8

    บทที่ 1 บทนำ  น.10

    -ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ  น.10

    -วัตถุประสงค์  น.13

    -ประเภทโครงการ  น.13  

    -กลุ่มเป้าหมาย  น.14

    -ระยะเวลาดำเนินงาน  น.14

    -สถานที่ดำเนินงาน  น.14

    -งบประมาณ  น.14

    -รูปแบบการดำเนินงาน  น.15

    -การทบทวนความรู้และงานศึกษากลุ่มกะเหรี่ยงในพื้นที่จังหวัดตากและกำแพงเพชร  น.19

    -กรอบแนวคิดทฤษฎี  น.29

    -ตัวชี้วัดและผลผลิตของโครงการ  น.31

    -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ  น.31

    บทที่ 2 การดำเนินการสำรวจชุมชนกะเหรี่ยงในเขตตอนบนของจังหวัดตากและกำแพงเพชร  น.32

    -การดำเนินการสำรวจชุมชนกะเหรี่ยงของโครงการวิจัยปีที่ 1 (2562)  น.32

    -การบันทึกพิกัดชุมชนและสถานที่สำคัญของชาวกะเหรี่ยงในเขตตอนบนจังหวัดตากและกำแพงเพชร  น.32

    -พิกัดชุมชนกะเหรี่ยงและสถานที่สำคัญในเขตอำเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก  น.32

    -พิกัดชุมชนกะเหรี่ยงและสถานที่สำคัญในเขตอำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก  น.35

    -พิกัดชุมชนกะเหรี่ยงและสถานที่สำคัญในเขตอำเภอสามเงา จังหวัดตาก  น.41

    -พิกัดชุมชนสถานที่สำคัญในรัฐกะเหรี่ยง ประเทศเมียนมา  น.42

    บทที่ 3 ข้อมูลหมู่บ้านสำคัญของชาวกะเหรี่ยงในพื้นที่สำรวจ  น.43

    -หมู่บ้านกะเหรี่ยงในเขตอำเภอท่าสองยาง  จังหวัดตาก  น.46

    -หมู่บ้านกะเหรี่ยงในเขตอำเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก  น.89

    -หมู่บ้านกะเหรี่ยงในเขตอำเภอสามเงา จังหวัดตาก  น.118

    บทที่ 4 ข้อมูลชุมชนกะเหรี่ยงจำแนกตามโครงสร้างข้อมูล  น.127

    ข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรม  น.127

              1.วิถีชีวิต  น.127 

              2.พิธีกรรม  น.131

              3.ความเชื่อ/ศาสนา  น.137

              4.ศิลปะและการแสดง  น.138

              5.มุขปาฐะและเอกสารโบราณ  น.138

    สถานการณ์ปัจจุบันของอัตลักษณ์ชาติพันธุ์  น.139

              1.การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิสังคม  น.139

              2.การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม  น.139

              3.ปัญหาที่ประสบจากการเปลี่ยนแปลง  น.142

              4.การรวมกลุ่มและการสร้างเครือข่าย  น.143

    บทที่ 5 พลวัตชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยง  น.145

    -พลวัตเชิงพื้นที่ในการเคลื่อนย้าย การตั้งถิ่นฐาน และปฏิสัมพันธ์ระหว่างชุมชน  น.145

    -พลวัตด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ  น.147

    -พลวัตด้านการปรับตัวและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ  น.149

    -พลวัตทางความเชื่อและศาสนา  น.151

    -ปัญหาต่อพลวัตชุมชนและผลกระทบเชิงโครงสร้างต่อการแช่แข็งชุมชน  น.154

    -ข้อสังเกตต่อลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของชาวกะเหรี่ยงในพื้นที่จังหวัดตากและกำแพงเพชร  น.155

    บรรณานุกรม  น.159

    ภาคผนวก  น.159

    ก.โครงสร้างพื้นฐานในการเก็บข้อมูล  น.169

    ข.แบบฟอร์มการขออนุญาตข้อมูล  น.172

    ค.ระเบียนภาพสเกตช์บ้านและผังเรือน  (รบ.1)  น.173

    ประวัติผู้วิจัย  187

  • ประวัติการสร้างและการเก็บรักษา ห้องสมุดศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • สถาบัน / หน่วยงาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 
  • ภาษาต้นฉบับ ไทย
  • สถานที่ ตาก, กำแพงเพชร,

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

พิเชฐ สายพันธ์. (2562). พลวัตชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยงฝั่งตะวันตกของประเทศไทย ในเขตตอนบนจังหวัดตากและจังหวัดกำแพงเพชร ชุดโครงการศึกษาวิจัยพลวัตของชุมชนชาติพันธุ์เพื่อการสร้างแผนที่วัฒนธรรมมีชีวิต ปีที่ 1 (พ.ศ. 2562). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ค้นคืนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567 , จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=235

MLA

พิเชฐ สายพันธ์. พลวัตชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยงฝั่งตะวันตกของประเทศไทย ในเขตตอนบนจังหวัดตากและจังหวัดกำแพงเพชร ชุดโครงการศึกษาวิจัยพลวัตของชุมชนชาติพันธุ์เพื่อการสร้างแผนที่วัฒนธรรมมีชีวิต ปีที่ 1 (พ.ศ. 2562). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2562. ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567  

HARVARD

พิเชฐ สายพันธ์, 2562. พลวัตชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยงฝั่งตะวันตกของประเทศไทย ในเขตตอนบนจังหวัดตากและจังหวัดกำแพงเพชร ชุดโครงการศึกษาวิจัยพลวัตของชุมชนชาติพันธุ์เพื่อการสร้างแผนที่วัฒนธรรมมีชีวิต ปีที่ 1 (พ.ศ. 2562). [Online]. ปทุมธานีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=235 [ค้นคืนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567 ]

File Download

File Name Size Download
ปก 150.68 KB
บทคัดย่อ, คำนำ, สารบัญ 902.67 KB
บทที่ 1 บทนำ 4.42 MB
บทที่ 2 การดำเนินการสำรวจชุมชนกะเหรี่ยงในเขตตอนบนของจังหวัดตากและกำแพงเพชร 2.14 MB
บทที่ 3 ข้อมูลหมู่บ้านสำคัญของชาวกะเหรี่ยงในพื้นที่สำรวจ 12.15 MB
บทที่ 4 ข้อมูลชุมชนกะเหรี่ยงจำแนกตามโครงสร้างข้อมูล 3.34 MB
บทที่ 5 พลวัตชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยง 2.86 MB
บรรณานุกรม 1.95 MB
ภาคผนวก, ประวัติผู้วิจัย 10.72 MB
เอกสารฉบับเต็ม 38.57 MB