| | เข้าสู่ระบบ
การศึกษากระบวนการดำเนินงานและระบบวัฒนธรรมท้องถิ่นในกรณีศึกษากลุ่มองค์กร/ชุมชน ที่ได้ดำเนินงานตามสาระสำคัญของ เศรษฐกิจพอเพียง หรือเศรษฐกิจแบบยั่งยืน เพื่อที่จะปรับตัวให้สามารถอยู่รอดท่ามกลางสภาพสังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ภายหลังจากภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจทำให้หลายฝ่ายต้องตระหนักถึงการปรับตัวให้สมดุลกับบริบทแวดล้อม โดยมุ่งศึกษาเพื่อประมวลความสำเร็จ/ล้มเหลว วิเคราะห์ให้เกิดเป็นองค์ความรู้ และเป็นพื้นฐานสำคัญในการแปรแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงดังกล่าว ซึ่งได้เลือกกลุ่มตัวอย่างมาศึกษา 6 กรณี เช่น กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ฯ ต.น้ำขาว อ.จะนะ จ.สงขลา, มูลนิธิพิพิธประชานาถ ต.ท่าสว่าง อ.เมือง จ.สุรินทร์, ชุมชนทุ่งยาว ต.ศรีบัวบาน อ.เมือง จ.ลำพูน, ชุมชนยี่สาร ต.ยี่สาร อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม
บทนำ น.1
กรณีศึกษาที่ 1 : กลุ่มสัจจะออมทรัพย์แบบพัฒนาครบวงจรชีวิต น.6
กรณีศึกษาที่ 2 : มูลนิธิพิพิธประชานาถ อ.เมือง จ.สุรินทร์ น.42
กรณีศึกษาที่ 3 : ชุมชนบ้านทุ่งยาว ต.ศรีบัวบาน อ.เมือง จ.ลำพูน น.75
กรณีศึกษาที่ 4 : ความสืบเนื่องของอาชีพการทำสวนป่าเพื่อเผาถ่านที่ ชุมชนยี่สาร อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม น.108
กรณีศึกษาที่ 5 : กลุ่มหัตถกรรมเครื่องทองลงหิน ชุมชนประดิษฐ์โทรการ น.153
กรณีศึกษาที่ 6 : อุตสาหกรรมรถยนต์กับเศณษฐกิจพอเพียง กรณี: จากสิบล้อสู่เครื่องจักรกลเกษตร ; การกลับตัวบนเส้นด้าย น.184
ข้อค้นพบที่สำคัญจากการศึกษา 6 กรณี น.217