บทบาทของลังกาทวีปในฐานะศูนย์กลางพุทธศาสนาต่อพุทธศิลป์ไทย

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

ศรีลังกาถือว่าเป็นศูนย์กลางของพุทธศาสนานิกายเถรวาท (หินยาน) มานับตั้งแต่สมัยพระเจ้าอโศกมหาราชทำการสังคายนาพระพุทธศาสนาครั้งที่ 3 ขึ้น ด้วยความเจริญและความยิ่งใหญ่ของพระพุทธศาสนาในศรีลังกานี้ ทำให้บ้านเมืองต่าง ๆ ในประเทศไทยจึงเลือกที่จะรับเอาพุทธศาสนาจากศรีลังกาเข้ามาประดิษฐาน ณ บ้านเมืองของตน ทำให้กรอบของความคิด ความเชื่อ และพุทธศิลป์ ดำเนินในแนวทางตามพุทธศาสนาแบบลังกาที่ได้เลือกรับเข้ามา ที่เห็นได้ชัด คือ นับตั้งแต่สมัยทราวดี สุโขทัย ล้านนา อยุธยา (ตอนต้น) และเมื่อสมัยอยุธยาตอนปลาย พุทธศาสนาแบบลังกาได้เกิดความเสื่อมลง มีการปรับรูปแบบแนวคิดจากการผสมความเชื่อแบบพุทธศาสนาลังกากับพุทธศาสนาแบบขอม ซึ่งตกค้างมาตั้งแต่ยุคก่อนหน้า เข้ามาเป็นรูปแบบของตนเองในแง่รูปแบบความคิด ความเชื่อ แต่พุทธศิลป์ยังคงยึดถือตามแบบความยิ่งใหญ่ของลังกา จนมาถึงยุคกรุงรัตนโกสินทร์ที่มีการรื้อฟื้นความสัมพันธ์ทางพุทธศาสนาแบบลังกาเข้ามาอีกครั้ง จากการอัญเชิญปูชนียวัตถุเข้ามา อาทิ พระพุทธรูป พระบรมสารีริกธาตุ เป็นต้น จนถึงในช่วงเวลาต่อมาบทบาทของพุทธศาสนาในลังกาค่อย ๆ ลดอิทธิพลลง และถูกแทนที่ด้วยประวัติศาสตร์พุทธศาสนาในอินเดีย

 

  • ประเภท รายงานงานวิจัย 
  • สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ
  • สำนักพิมพ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • สิทธิ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • รูปแบบลิขสิทธิ์ Attribution-NonCommercial (CC BY-NC)

Additional Details

  • ปีที่พิมพ์ 2560
  • จำนวนหน้า 436
  • สารบัญ

    บทคัดย่อ

    คำนำ

    สารบัญ

    สารบัญภาพ

    สารบัญภาพลายเส้น

    สารบัญแผนผัง

    บทนำ  น.1

    1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา  น.1

    1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย  น.2

    1.3 ขอบเขตของการวิจัย  น.2

    1.4 ทฤษฎี สมมติฐาน และกรอบแนวคิดของโครงการวิจัย  น.2

    1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ  น.2

    1.6 วิธีการดำเนินการวิจัย  น.2

    ผลสำเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ  น.3

    บทที่ 2 ประวัติศาสตร์พุทธศาสนาและประวัติเจดีย์สถานในศรีลังกากับภาพจำความเป็นศูนย์กลางพุทธศาสนาของคนในดินแดนไทย: ข้อมูลจากลายลักษณ์อักษร  น.4

    2.1 ความเชื่อว่าพระพุทธเจ้าเคยเสด็จมายังศรีลังกา เพื่อตระเตรียมให้เป็นศูนย์กลางพุทธศาสนา  น.6

    2.2 โสฬสมหาสถาน: สถานที่ศักดิ์สิทธิ์อันเนื่องด้วยพระพุทธเจ้าเสด็จเยือนศรีลังกา  น.10

    2.3 ประวัติศาสตร์พุทธศาสนาและเจดีย์สถานสำคัญในศรีลังกา ในระยะแรกประดิษฐานพุทธศาสนา  น.19

    2.4 การเข้ามาของพระเขี้ยวแก้ว  น.31

    บทที่ 3 ร่องรอยความสัมพันธ์ระหว่างทวารวดีกับลังกาทวีปผ่านงานพุทธศิลป์  น.37

    3.1 ร่องรอยพุทธศิลป์ลังกาในพระพุทธรูปทวารวดี  น.38

    3.2 ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธบาทลังกสกับพระพุทธบาทที่สระมรกต  น.43

    3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างคัมภีร์สมันตปาสาทิกาจากลังกากับพันธสีมาทวารวดีอีสาน  น.46

    บทที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างนครศรีธรรมราชกับศรีลังกามุมมองผ่านพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช  น.55

    4.1 ความสัมพันธ์ระหว่างนครศรีธรรมราชกับศรีลังกา มุมมองผ่านพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช  54

    4.2 ความสัมพันธ์กับศรีลังกาผ่านรูปแบบของของพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช  น.58

    4.3 พระบรมธาตุนครศรีธรรมราชกับความความเป็นต้นแบบเจดีย์ทรงกลมแบบลังกาที่มีช้างล้อม  น.73

    บทที่ 5 พุทธศิลป์สุโขทัยกับภาพสะท้อนความเป็นศูนย์กลางพุทธศาสนาของลังกาทวีป  น.87

    5.1 ความสัมพันธ์กับศรีลังกาผ่านคติและรูปแบบเจดีย์ช้างล้อม  น.88

    5.2 ความสัมพันธ์ทางรูปแบบของเจดีย์ทรงกลมศิลปะสุโขทัยกับศิลปะศรีลังกา  น.100

    5.3 ต้นพระศรีมาหาโพธิ์จากศรีลังกาในอารามสุโขทัย  น.110

    5.4 การจำลองพระพุทธบาทบนเขาสุมนกูฏ  น.122

    5.5 ความสัมพันธ์ทางรูปแบบระหว่างประติมากรรมสุโขทัยกับศรีลังกา  น.139

    5.6 วัจจกุฎี: หลักฐานจริยวัตรสงฆ์อย่างศรีลังกา  น.159

    บทที่ 6 ลังกาทวีปในทัศนะของชาวล้านนามองผ่านหลักฐานพุทธศิลป์  น.167

    6.1 เจดีย์ช้างล้อมในล้านนา  น.173

    6.2 ความสัมพันธ์กับศรีลังกาจากการปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่วัดมหาธาตุโพธาราม  น.190

    6.3 พระพุทธสิงห์: ข้อเท็จจริงที่ต่างกันของตำนานและงานช่าง  น.201

    บทที่ 7 พุทธศิลป์อยุธยากับความเป็นศูนย์กลางพุทธศาสนาของลังกาทวีป  น.209

    7.1 โบราณวัตถุศรีลังกาที่นำเข้ามาในสมัยอยุธยาตอนต้นจากหลักฐานในกรุปรางค์วัดราชบูรณะ

    7.2 ความสัมพันธ์กับศรีลังกาผ่านเจดีย์ช้างล้อมวัดมเหยงคณ์และเจดีย์ช้างล้อมอื่นๆ  น.223

    7.3 พระพุทธบาทบนเขาสุมนกูฎในฐานะพระพุทธบาทศักดิ์สิทธิ์ของชาวกรุงศรีอยุธยา  น.242

    7.4 ภาพสะท้อนจากโสฬสมหาสถานของศรีลังกาในสมุดภาพไตรภูมิสมัยอยุธยาตอนปลาย  น.269

    บทที่ 8 ภาพสะท้อนต่อลังกาทวีปผ่านการศึกษาพุทศิลป์รัตนโกสินทร์  น.288

    8.1 ปูชนียวัตถุจากศรีลังกาในยุคต้นรัตนโกสินทร์  น.291

    8.2 โลหะปราสาทวัดราชนัดดดาราม: สถาปัตยกรรมอันเนื่องมาจากคัมภีร์มหาวงศ์  น.296

    8.3 สายสัมพันธ์กับศรีลังกาผ่านเจดีย์ทรงกลมสมัยรัชกาลที่ 4  น.305

    8.4 มุมมองต่อลังกาทวีปผ่านภาพพระพุทธบาท 5 องค์  น.320

    8.5 ภาพสะท้อนลังกาทวีปอันศักดิ์สิทธิ์ในจิตรกรรมฝาผนัง  น.342

    บทสรุป  น.379

    บรรณานุกรม  น.385

    ภาคผนวก: ลำดับกษัตริย์ของศรีลังกา  น.395

    ภาคผนวก: ลำดับกษัตริย์ของไทย  น.403

  • ประวัติการสร้างและการเก็บรักษา ห้องสมุดศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • สถาบัน / หน่วยงาน มหาวิทยาลัยศิลปากร 
  • ภาษาต้นฉบับ ไทย

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง. (2560). บทบาทของลังกาทวีปในฐานะศูนย์กลางพุทธศาสนาต่อพุทธศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 , จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=167

MLA

รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง. บทบาทของลังกาทวีปในฐานะศูนย์กลางพุทธศาสนาต่อพุทธศิลป์ไทย. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2560. ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568  

HARVARD

รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง, 2560. บทบาทของลังกาทวีปในฐานะศูนย์กลางพุทธศาสนาต่อพุทธศิลป์ไทย. [Online]. กรุงเทพฯศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=167 [ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 ]

File Download

File Name Size Download
ปก 116.58 KB
บทคัดย่อ, คำนำ, สารบัญ 2.18 MB
บทนำ 170.69 KB
บทที่ 2 ประวัติศาสตร์พุทธศาสนาและประวัติเจดีย์สถานในศรีลังกากับภาพจำความเป็นศูนย์กลางพุทธศาสนาของคนในดินแดนไทย: ข้อมูลจากลายลักษณ์อักษร 3.05 MB
บทที่ 3 ร่องรอยความสัมพันธ์ระหว่างทวารวดีกับลังกาทวีปผ่านงานพุทธศิลป์ 1.32 MB
บทที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างนครศรีธรรมราชกับศรีลังกามุมมองผ่านพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช 2.44 MB
บทที่ 5 พุทธศิลป์สุโขทัยกับภาพสะท้อนความเป็นศูนย์กลางพุทธศาสนาของลังกาทวีป 6.35 MB
บทที่ 6 ลังกาทวีปในทัศนะของชาวล้านนามองผ่านหลักฐานพุทธศิลป์ 3.53 MB
บทที่ 7 พุทธศิลป์อยุธยากับความเป็นศูนย์กลางพุทธศาสนาของลังกาทวีป 6.75 MB
บทที่ 8 ภาพสะท้อนต่อลังกาทวีปผ่านการศึกษาพุทศิลป์รัตนโกสินทร์ 7.54 MB
บทสรุป 589.74 KB
บรรณานุกรม 763.93 KB
ภาคผนวก 692.25 KB
เอกสารฉบับเต็ม 35.4 MB