| | เข้าสู่ระบบ
รายงานการวิจัยเล่มนี้ศึกษา ศิลปกรรมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ตามพระราชดำริของรัชกาลที่ 4-5 ที่ได้มีพระราชดำริให้สร้างอนุสรณ์สถานที่ไปเสด็จยังที่ต่าง ๆ ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ในรูปแบบที่หลากหลาย อาทิ ปูชนียสถาน และสิ่งสาธารณูปโภคเพื่อเป็นประโยชน์แก่ราษฎรในพื้นที่ เพื่อแสดงออกถึงนัยยะทางการเมือง และเพื่อรองรับการพัฒนาของเมืองจากการขยายตัวทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ อันเป็นหลักฐานทางศิลปกรรมที่ปรากฎร่องรอยมาอยู่จนถึงปัจจุบัน
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
สารบัญ
สารบัญภาพ
บทที่ 1 ความสำคัญและความเป็นมา น.1
บทที่ 2 การเสด็จประพาสชายฝั่งทะเลและเรือกลไฟในสมัยรัชกาลที่ 4-5 น.4
2.1 การเสด็จประพาสและเรือกลไฟสมัยรัชกาลที่ 4 น.4
2.1 การเสด็จประพาสและเรือกลไฟสมัยรัชกาลที่ 5 น.5
บทที่ 3 เจดีย์ทรงระฆัง: ความเชื่อมโยงจากสมัยรัชกาลที่ 4-5 ในจังหวัดชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก น.26
3.1 เจดีย์ทรงระฆังแบบพระราชนิยมรัชกาลที่ 4 ในกรุงเทพฯ น.26
3.2 เจดีย์ในจังหวัดชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกที่สร้างขึ้นตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว น.32
3.3 สรุปรูปแบบและแนวคิดในการสร้างเจดีย์ทรงระฆังตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว น.54
3.4 เจดีย์ในจังหวัดชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกที่สร้างขึ้นตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว น.56
3.5 สรุปรูปแบบและแนวคิดในการสร้างเจดีย์ทรงระฆังตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว น.84
บทที่ 4 เจดีย์ทรงระฆังในท้องถิ่นที่สันนิษฐานว่าเกี่ยวข้องกับเจดีย์ทรงระฆังแบบพระราชนิยมในรัชกาลที่ 4-5 น.86
บทที่ 5 การสร้างสถานพักฟื้นตากอากาศ พระราชฐาน และสาธารณูปโภค น.106
5.1 จากอาศัยสถานมาสู่การสร้างพระจุฑาธุชราชฐาน น.106
5.2 การสร้างบ่อน้ำที่อ่างศิลาและเกาะสีชัง น.121
5.3 การสร้างเสาธงและประภาคาร น.125
บทที่ 6 บทสรุปและเสนอแนะ น.133
บรรณานุกรม น.136
ประวัติผู้วิจัย น.140