การแปลและการศึกษาเอกสารจีนโบราณกับไทยในบริบทของเส้นทางสายไหม

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

จีนเป็นหนึ่งในชนชาติที่มีสำนึกทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเห็นได้จากทักษะการจดบันทึกเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ทั้งจากเอกสารหรือจดหมายเหตุของราชสำนักจีน ขณะเดียวกันในแง่ของความสัมพันธ์ ประเทศไทยหากนับตั้งแต่อดีตจวบจนถึงปัจจุบันได้มีความสัมพันธ์กับจีน ในบริบททางการฑูตและเศรษฐกิจมาแล้วกว่า 2000 ปี ประกอบกับข้อมูลที่ได้จากบันทึกหรือเอกสารทางประวัติศาสตร์ของจีนนั้น ค่อนข้างมีความแม่นยำ เที่ยงตรง และน่าเชื่อถือได้ จึงเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา ค้นคว้า ประวัติศาสตร์ไทย ในแง่ของการตรวจสอบข้อมูลที่ยังมีความคลุมเครือ น่าสงสัย ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีการคัดเลือก ชำระ และแปลเอกสารจีนโบราณที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ไทย เพื่อนำมาเป็นเครื่องมือในการใช้ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล อันเป็นที่มาของรายงานการวิจัยเล่มนี้

 

  • ประเภท รายงาน รายงานงานวิจัย 
  • สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ
  • สำนักพิมพ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • สิทธิ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • รูปแบบลิขสิทธิ์ Attribution-NonCommercial (CC BY-NC)

Additional Details

  • รหัส LC DS575.5 .ศ74 2561
  • ปีที่พิมพ์ 2561
  • จำนวนหน้า 82
  • สารบัญ

    คำนำ

    สารบัญ

    ภาคที่ 1 บริบทประวัติศาสตร์  น.1  

    บทที่ 1 บทนำ  น.2

    • ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา  น.2
    • วัตถุประสงค์การวิจัย  น.2
    • กรอบแนวคิดและทฤษฎี  น.3
    • ระเบียบวิธีวิจัย  น.3
    • การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง  น.3
    • ประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัย  น.9

    บทที่ 2 บริบทประวัติศาสตร์จีน-ไทย-เอเชียตะวันออกเฉียงใต้  น.10

    • จงกั๋ว: จีนในฐานะศูนย์กลางพื้นพิภพ  น.11
    • การค้าทางทะเล: จุดเริ่มต้นความสัมพันธ์  น.14
    • โองการสวรรค์: จีนกับการรุกราน  น.22
    • ระบบบรรณาการ: พันธกรณีความสัมพันธ์  น.34

    ภาคที่ 2 เอกสารแปลจากต้นฉบับภาษาจีน  น.38

    บทที่ 3 เอกสารสมัยราชวงศ์ฮั่นถึงราชวงศ์เหนือใต้  น.39

    • ฮั่นซู (พงศาวดารราชวงศ์ฮั่นฉบับหอหลวง)  น.39
    • สุ่ยจิงจู้ (คัมภีร์แห่งสายน้ำ)  น.39
    • เหลียงซู (พงศาวดารราชวงศ์เหลียงฉบับหอหลวง)  น.40
    • เฉินซู (พงศาวดารราชวงศ์เฉินฉบับหอหลวง)  น.41

    บทที่ 4 เอกสารสมัยราชวงศ์สัยถึงราชวงศ์ถัง

    • สุยซู (พงศาวดารราชวงศ์สุยฉบับหอหลวง)
    • จิ้วถังซู (พงศาวดารราชวงศ์ถังฉบับหอหลวง (ฉบับเก่า)  น.45
    • ซินถังซู (พงศาวดารราชวงศ์ถังฉบับหอหลวง (ฉบับชำระใหม่))  น.46
    • ทงเตี่ยน (ประมวลพระราชกำหนดสมัยราชวงศ์ถัง)  น.48
    • หลิงเปี่ยวลู่อี้  น.51
    • เหวินอี้เล่ยจวี้  น.51
    • ต้าถังซียวี่จี้ (จดหมายเหตุการเดินทางสู่ภูมิภาคตะวันตกแห่งมหาราชวงศ์ถัง)  น.52
    • หนานไห่จี้กุยเน่ยฟ่าจ้วน  น.52

    บทที่ 5 เอกสารสมัยราชวงศ์ซ่งถึงราชวงศ์หยวน  น.54

    บทที่ 6 เอกสารสมัยราชวงศ์หยวน (ที่เกี่ยวกับล้านนา)  น.66

    บรรณานุกรม  น.77

  • ประวัติการสร้างและการเก็บรักษา ห้องสมุดศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • สถาบัน / หน่วยงาน มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยศิลปากร 
  • ภาษาต้นฉบับ ไทย

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

ศุภการ สิริไพศาล และพิภู บุษบก. (2561). การแปลและการศึกษาเอกสารจีนโบราณกับไทยในบริบทของเส้นทางสายไหม. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 19 เมษายน 2568 , จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=165

MLA

ศุภการ สิริไพศาล และพิภู บุษบก. การแปลและการศึกษาเอกสารจีนโบราณกับไทยในบริบทของเส้นทางสายไหม. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2561. ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 19 เมษายน 2568  

HARVARD

ศุภการ สิริไพศาล และพิภู บุษบก, 2561. การแปลและการศึกษาเอกสารจีนโบราณกับไทยในบริบทของเส้นทางสายไหม. [Online]. กรุงเทพฯศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=165 [ค้นคืนเมื่อ 19 เมษายน 2568 ]

File Download

File Name Size Download
ปก 70.3 KB
คำนำ, สารบัญ 173.96 KB
บทที่ 1 บทนำ 723.74 KB
บทที่ 2 บริบทประวัติศาสตร์จีน-ไทย-เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2.91 MB
บทที่ 3 เอกสารสมัยราชวงศ์ฮั่นถึงราชวงศ์เหนือใต้ 243.18 KB
บทที่ 4 เอกสารสมัยราชวงศ์สัยถึงราชวงศ์ถัง 916.98 KB
บทที่ 5 เอกสารสมัยราชวงศ์ซ่งถึงราชวงศ์หยวน 833.73 KB
บทที่ 6 เอกสารสมัยราชวงศ์หยวน (ที่เกี่ยวกับล้านนา) 966.35 KB
บรรณานุกรม 89.63 KB
เอกสารฉบับเต็ม 6.8 MB