| | เข้าสู่ระบบ
แม่น้ำ ถือว่าเป็นปัจจัยสำคัญของรัฐในสมัยจารีต เพราะแม่น้ำมีความสำคัญทั้งในแง่ของ การเพาะปลูกและหล่อเลี้ยงชีวิตผู้คนในเมืองได้อย่างเพียงพอตลอดทั้งปี เป็นเส้นทางสายหลักสำหรับใช้ในการติดต่อสัมพันธ์ค้าขายกับทั้งสังคมภายในและภายนอก เป็นพื้นที่ที่ผู้คนในอดีตนิยมตั้งถิ่นฐานกัน จึงสามารถกล่าวได้ว่า แม่น้ำนั้นเป็นรากฐานของการเชื่อมต่อการพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง โดยเฉพาะอาณาจักร “อยุธยา” เป็นราชธานีมีโครงข่ายลำน้ำเชื่อมโยงถึงกันหลายสาย จนได้รับขนานนามว่า “เวนิชตะวันออก” และด้วยระยะเวลากว่า 417 ปีที่ผ่านมาของอาณาจักรอยุธยา มีการขุดคูคลองเส้นทางน้ำหลายสาย บ้างก็มีการจดบันทึกไว้ รายงานเล่มนี้จึงต้องการศึกษาถึง ระบบลำน้ำสมัยอยุธยา เพื่อทำความเข้าใจถึงความสำคัญของแม่น้ำ ที่ส่งผลต่อความเปลี่ยนแปลงในสมัยอยุธยา
บทที่ 1 น.2
บทที่ 2 น.11
บทที่ 3 น.18
บทที่ 4 น.27
บทที่ 5 น.59
บทที่ 6 น.68
บทที่ 7 น.96
บทที่ 8 น.106
บทที่ 9 น.113
บทที่ 10 น.127
บทที่ 11 น.140
บทที่ 12 น.152
บทที่ 13 น.165
สรุป น.191