สงกรานต์การดำรงอยู่และการเปลี่ยนแปลงในบริบทการท่องเที่ยว

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

ประเพณีสงกรานต์ แต่เดิมมีจุดประสงค์ในการสร้างหรือตอกย้ำความสัมพันธ์ทางสังคม ระหว่างครอบครัว เครือญาติ และชุมชน โดยใช้กิจกรรมรดน้ำดำหัว ขอพร ทำบุญไหว้พระ และมีความหมายเชิงสัญลักษณ์ว่าเป็นการเปลี่ยนผ่านจากปีเก่าสู่ปีใหม่ตามแบบฉบับของไทย แต่เมื่อระยะเวลาเปลี่ยนแปลงไป ประเพณีสงกรานต์ได้ถูกหยิบยกมาใช้ในแง่ของการเป็นทุนทางด้านวัฒนธรรม ในมิติของเศรษฐกิจที่มีจุดมุ่งหมายให้เป็นประเพณีแห่งความรื่นเริง สนุกสนาน เป็นประเพณีแห่งการท่องเที่ยว เพื่อตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ ทำให้ประเพณีสงกรานต์ในพื้นที่ต่าง ๆ ได้ถูกนำมารื้อฟื้นเป็นทุนทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวและเพื่อสร้างเอกลักษณ์ให้กับพื้นที่ของตน ประเพณีสงกรานต์จึงเปลี่ยนแปลงความหมายจากการเป็นประเพณีระบบชุมชนที่เน้นย้ำถึงความสัมพันธ์ในสังคม มาสู่ประเพณีในเชิงเศรษฐกิจ มีความหมายเป็นประเพณีของมวลชน โดยมีทั้งบุคคล รัฐบาล และองค์รทั้งภาครัฐและเอกชนมาเกี่ยวข้อง

 

  • ประเภท รายงานงานวิจัย 
  • สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ
  • สำนักพิมพ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • สิทธิ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • รูปแบบลิขสิทธิ์ Attribution-NonCommercial (CC BY-NC)

Additional Details

  • รหัส LC GT4905 .ป74 2559
  • ปีที่พิมพ์ 2560
  • จำนวนหน้า 177
  • สารบัญ

    บทที่ 1 สงกรานต์: การดำรงอยู่และการเปลี่ยนแปลงในบริบทการท่องเที่ยว

    • ความสำคัญและที่มาของโครงการ  น.1
    • วัตถุประสงค์ในการศึกษา  น.3
    • คำถามวิจัย  น.3
    • ผลที่คาดว่าจะได้รับ  น.3
    • ขอบเขตของการศึกษา  น.3

    บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม

    • แนวคิดเรื่องการท่องเที่ยว  น.5
    • กระบวนการกลายเป็นสินค้า  น.10
    • การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม  น.14
    • สงกรานต์ความหมายของการเปลี่ยนแปลง  น.16
    • ข้อสันนิษฐานที่มาของสงกรานต์  น.17
    • รูปแบบของสงกรานต์ในประเทศไทย  น.21
    • การเปลี่ยนแปลงของสงกรานต์  น.34
    • กรอบแนวคิดในการศึกษา  น.44

    บทที่ 3 วิธีการศึกษา

    • วิธีการศึกษา  น.45
    • การกำหนดพื้นที่ในการศึกษา  น.45
    • ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา  น.46
    • วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล  น.47
    • การวิเคราะห์ข้อมูล  น.48

    บทที่ 4 ผลการศึกษา

    • ผลการศึกษา  น.50
    • สงกรานต์เชียงใหม่  น.50
    • สงกรานต์ขอนแก่น  น.80
    • สงกรานต์สงขลา  น.94
    • สงกรานต์ชลบุรี  น.106
    • สงกรานต์กรุงเทพมหานคร  น.138

    บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา

    • สรุปผลการศึกษา  น.159
    • การทำให้เทศกาลสงกรานต์เป็นสินค้า  น.160
    • เงื่อนไขที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงประเพณีสงกรานต์  น.165
    • ข้อดี-ข้อเสีย  น.167
    • ข้อจำกัดของการศึกษา  น.168
    • ข้อแนะนำสำหรับการศึกษาในครั้งต่อไป  น.168

    บรรณานุกรม  น.169

  • ประวัติการสร้างและการเก็บรักษา ห้องสมุดศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • ภาษาต้นฉบับ ไทย
  • สถานที่ เชียงใหม่, ขอนแก่น, กรุงเทพมหานคร, ชลบุรี, สงขลา,

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

ปุรินทร์ นาคสิงห์ และอังกูร หงษ์คณานุเคราะห์. (2560). สงกรานต์การดำรงอยู่และการเปลี่ยนแปลงในบริบทการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 , จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=137

MLA

ปุรินทร์ นาคสิงห์ และอังกูร หงษ์คณานุเคราะห์. สงกรานต์การดำรงอยู่และการเปลี่ยนแปลงในบริบทการท่องเที่ยว. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2560. ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568  

HARVARD

ปุรินทร์ นาคสิงห์ และอังกูร หงษ์คณานุเคราะห์, 2560. สงกรานต์การดำรงอยู่และการเปลี่ยนแปลงในบริบทการท่องเที่ยว. [Online]. กรุงเทพฯศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/research-item-search.php?ob_id=137 [ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 ]

File Download

File Name Size Download
ปก 133.11 KB
สารบัญ 56.55 KB
บทที่ 1 สงกรานต์: การดำรงอยู่และการเปลี่ยนแปลงในบริบทการท่องเที่ยว 321.72 KB
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม 3.96 MB
บทที่ 3 วิธีการศึกษา 303.93 KB
บทที่ 4 ผลการศึกษา 8.97 MB
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา 823.02 KB
บรรณานุกรม 487.98 KB
เอกสารฉบับเต็ม 14.97 MB