| | เข้าสู่ระบบ
พื้นที่ชุมชนในตำบลหอคำ-ไคสี ล้วนมีความผูกพันกับแม่น้ำโขงมานับตั้งแต่อดีต จากการที่พวกเขาประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นอาชีพหลัก และทำประมงตามฤดูกาลเป็นอาชีพเสริม ทำให้ชีวิตต้องพึ่งพาแม่น้ำโขงซึ่งเปรียบเสมือนหัวใจของพวกเขา ในรายงานเล่มนี้ได้ศึกษาถึงพัฒนาการของวิถีชีวิตของประมงพื้นบ้านในพื้นที่ตำบลหอคำ-ไคสี รวมถึงวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ระบบเศรษฐกิจของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับประมงพื้นบ้าน และความเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประมง ตลอดไปจนถึงการปรับตัว การสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนต่อการประมงพื้นบ้านท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง
บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญ น.1
วัตถุประสงค์ของการศึกษา น.3
บทที่ 1 บริบทชุมชน
1.1 แผนที่เดินดินบ้านชาวประมง 9 หมู่บ้าน น.23
1.2 ระบบนิเวศแม่น้ำโขงและแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ น.29
1.3 เศรษฐกิจชุมชน น.52
1.4 วัฒนธรรม (ความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม) น.63
1.5 ประวัติศาสตร์ชุมชน น.68
บทที่ 2 ข้อมูลวิถีชีวิตชาวประมงพื้นบ้านตำบลหอคำ - ไคสี
2.1 ช่วงประสบการณ์ระยะเวลาที่ชาวประมงใช้ในการหาปลา น.73
2.2 การเรียนรู้วิธีการหาปลา
2.3 รูปแบบการหาปลาของชาวประมง
2.4 เครื่องมือหาปลา ช่วงระยะเวลาที่ใช้ บริเวณที่ใช้ และลักษณะการใช้ น.75
2.5 พันธุ์ปลาที่พบ น.76
2.6 เทคนิคการหาปลาที่ได้เยอะ (หมาน)
2.7 ปัญหาอุปสรรคในการหาปลาในแม่น้ำโขง น.77
บทที่ 3 มูลค่าทางเศรษฐกิจของอาชีพที่ต้องพึ่งพาทรัพยากรแม่น้ำโขง
3.1 มูลค่าทางเศรษฐกิจของอาชีพประมง
3.2 มูลค่าทางเศรษฐกิจของอาชีพการทำเกษตรริมโขง
บทที่ 4 การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำโขงและผลกระทบที่เกิดขึ้น
4.1 ผลกระทบจากความแปรปรวน หรือการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติของระดับน้ำโขง น.87
4.2 ความคิดเห็นอื่นๆ ของชาวประมงที่มีต่อความเปลี่ยนแปลงในแม่น้ำโขงและข้อเสนอแนะ น.90
บทที่ 5 การปรับตัวของชุมชน น.92