| | เข้าสู่ระบบ
งานศึกษาชิ้นนี้ เป็นการศึกษาเพื่อรื้อฟื้นภูมิปัญญาเพลงตุ้มโมงเมืองสุรินทร์ที่สูญหายไปและจัดกระบวนการเรียนรู้โดยนักเพลงพื้นบ้าน โดยประกอบด้วยคณะนักเพลงพื้นบ้านหมู่บ้านปอยตะแบง ตำบลนาบัว อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ และนักเพลงพื้นบ้านจากหมู่บ้านใกล้เคียง รวมกลุ่มกันตั้งเป็นวงตุ้มโมงจำนวน 1 ซึ่งเป็นผลผลิตที่จากการจัดทำโครงการวิจัย อีกทั้งผลจากโครงการดังกล่าวยังก่อให้เกิดพื้นที่การเรียนรู้ ความหมาย และคุณค่า สามารถนำไปเล่นประกอบเป็นอาชีพ เพื่อการอนุรักษ์ ฟื้นฟูภูมิปัญญาสืบทอดต่อไป
บทที่ 1 ลักษณะโครงการโดยรวม น.1
1.1 ความเป็นมา น.1
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ น.2
1.3 เป็าหมายของโครงการ น.2
1.4 กลุ่มเป้าหมายของโครงการ น.2
1.5 ขั้นตอนการดำเนินงาน น.3
1.6 ผลลัพธ์ที่ได้ น.5
1.7 การประเมินผล น.6
1.8 ปัญหาและอุปสรรค น.7
1.9 ข้อเสนอแนะโดยสรุป น.8
บทที่ 2 ชุมชนบ้านปอยตะเบง ตำบลนาบัว อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ น.9
2.1 ชื่อเสียงเรียงนาม น.9
2.2 ที่ตั้ง ภูมิศาสตร์ และลักษณะกายภาพ น.10
2.3 ทรัพยากรธรรมชาติ น.12
2.4 ประชากร ภาษา และประเพณีท้องถิ่น น.14
บทที่ 3 ตุ้มโมง : เพลงประโคมงานศพในวัฒนธรรมเขมรจังหวัดสุรินทร์ น.17
3.1 ความเชื่อและประเพณ๊งานศพของชาวเขมรจังหวัดสุรินทร์ น.17
3.2 ตุ้มโมง : เพลงประโคมงานศพในวัฒนธรรมเขมรจังหวัดสุรินทร์ น.18
บทที่ 4 โครงการฟื้นฟูภูมิปัญญาเพลงตุ้มโมงเมืองสุรินทร์ น.28
4.1 ก่อนเกิดคณะเพลงตุ้มโมงบ้านปอยตะแบง น.29
4.2 โครงการฟื้นฟูเพลงตุ้มโมงเมืองสุรินทร์ น.31
4.3 คณะตุ้มโมงบ้านปอยตะเบง น.33
4.4 ดนตรีตุ้มโมง น.49
4.5 บทเพลง น.51
4.6 ความเชื่อเกี่ยวกับครูเพลงและการผิดครู น.61
4.7 มุมมองและอ้อมกอดของชุมชน น.71
4.8 ความเคลื่อนไหวของวงตุ้มโมงหลังพิธีเบิกโรง น.74