เรา “นินทา” ไปทำไม: เมื่อการนินทาใหญ่กว่าเรื่องของชาวบ้าน

วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์ | 16 สิงหาคม 2567

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

นักมานุษยวิทยาลงความเห็นว่าการนินทาเป็นปรากฏการณ์สากล การนินทาถูกนิยามในความหมายเชิงลบของการพูดคุยของบุคคลที่หนึ่งกับบุคคลที่สองในพื้นที่ส่วนตัว โดยคำนึงถึงการไม่ปรากฏตัวของบางคนบางกลุ่มในฐานะบุคคลที่สาม

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์. (2567). เรา “นินทา” ไปทำไม: เมื่อการนินทาใหญ่กว่าเรื่องของชาวบ้าน. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568, จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=631

MLA

วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์. "เรา “นินทา” ไปทำไม: เมื่อการนินทาใหญ่กว่าเรื่องของชาวบ้าน". ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2567, ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 <http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=631>

HARVARD

วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์, 2567. "เรา “นินทา” ไปทำไม: เมื่อการนินทาใหญ่กว่าเรื่องของชาวบ้าน", [ออนไลน์]. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=631 [ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568]

File Download

File Download Size Download
ดาวน์โหลดบทความ 292.86 KB