แผ่นดินไหว: เหตุมงคลในอุดมคติ ฤๅลางร้ายของแผ่นดิน

ตรงใจ หุตางกูร | 7 สิงหาคม 2566

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

การมองว่าแผ่นดินไหว เป็นลางดีหรือลางร้าย ขึ้นอยู่กับโลกทัศน์ที่ต่างกันของแต่ละกลุ่มสังคมวัฒนธรรม แต่จุดร่วมที่ตรงกันไม่ว่าเรื่องนั้นจะดีหรือร้ายก็คือ เหตุการณ์นั้น “ต้องเป็นเรื่องสำคัญยิ่ง”

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

ตรงใจ หุตางกูร. (2566). แผ่นดินไหว: เหตุมงคลในอุดมคติ ฤๅลางร้ายของแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568, จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=507

MLA

ตรงใจ หุตางกูร. "แผ่นดินไหว: เหตุมงคลในอุดมคติ ฤๅลางร้ายของแผ่นดิน". ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2566, ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 <http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=507>

HARVARD

ตรงใจ หุตางกูร, 2566. "แผ่นดินไหว: เหตุมงคลในอุดมคติ ฤๅลางร้ายของแผ่นดิน", [ออนไลน์]. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=507 [ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568]

File Download

File Download Size Download
ดาวน์โหลดบทความ 422.49 KB