• หน้าหลัก
  • บทความ
  • เมียหลวง VS เมียน้อย : ละครโทรทัศน์ กับ มิติเรื่องเพศและครอบครัวในสังคมไทย

เมียหลวง VS เมียน้อย : ละครโทรทัศน์ กับ มิติเรื่องเพศและครอบครัวในสังคมไทย

จุฑามณี สารเสวก | 19 ตุลาคม 2564

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

ละครโทรทัศน์เป็นสื่อแขนงหนึ่งที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากในสังคมไทย ด้วยประเด็นการนำเสนอที่มุ่งเน้นให้ความบันเทิงเป็นหลัก และมีเนื้อหาที่ดึงดูดจำนวนผู้ชม ให้สามารถเลือกเสพและใช้เวลารับชมได้ยาวนาน ทำให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างตัวละครกับคนดูเชื่อมโยงออกมายังชีวิตจริงและส่งผลต่อโลกทัศน์ของผู้ชม โดยเฉพาะเรื่องราวเกี่ยวกับเมียหลวงเมียน้อย ซึ่งเป็นบทบาทตัวละครเพศหญิงที่มีการผลิตซ้ำภาพจำให้เราพบเห็นได้ในหน้าสื่อตลอด เรามาดูกันซิว่าทำไมละครที่มีเนื้อหาความสัมพันธ์ผัว ๆ เมีย ๆ ถึงไม่เคยตกกระแสหรือห่างหายไปจากวงการละครไทยในบ้านเราเลย

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

จุฑามณี สารเสวก. (2564). เมียหลวง VS เมียน้อย : ละครโทรทัศน์ กับ มิติเรื่องเพศและครอบครัวในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568, จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=252

MLA

จุฑามณี สารเสวก. "เมียหลวง VS เมียน้อย : ละครโทรทัศน์ กับ มิติเรื่องเพศและครอบครัวในสังคมไทย". ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2564, ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 <http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=252>

HARVARD

จุฑามณี สารเสวก, 2564. "เมียหลวง VS เมียน้อย : ละครโทรทัศน์ กับ มิติเรื่องเพศและครอบครัวในสังคมไทย", [ออนไลน์]. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=252 [ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568]

File Download

File Download Size Download
ดาวน์โหลดบทความ 432.95 KB