ทฤษฎีเครือข่าย-ผู้กระทำ (Actor-Network Theory)

ชัชชล อัจนากิตติ | 19 ตุลาคม 2564

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

ทฤษฎีเครือข่าย-ผู้กระทำ (Actor-Network Theory; ANT) มีจุดเน้นสำคัญของการศึกษาคือการทำให้เห็นว่าสิ่งต่าง ๆ นั้นไม่จำเป็นต้องเป็นอย่างที่มันเคยเป็น หรือเป็นอย่างที่เรามักคิดว่ามันจะเป็นเช่นนั้นเสมอไป ทฤษฎีเครือข่าย-ผู้กระทำ เป็นความพยายามที่จะข้ามพ้นพรมแดนที่แต่เดิมนักสังคมศาสตร์มุ่งศึกษาเฉพาะสังคมและวัฒนธรรม และปล่อยให้การทำความเข้าใจปรากฏการณ์ธรรมชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นหน้าที่ของนักวิทยาศาสตร์ ซึ่งนับเป็นแนววิธีสำคัญภายใต้จุดเปลี่ยนทางภววิทยา (ontological turn) ที่นักมานุษยวิทยาหันมาตั้งคำถามว่าด้วยความจริงและการดำรงอยู่ของสรรพสิ่งที่เกิดขึ้น ภายใต้การเชื่อมต่อที่ตัดข้ามการแบ่งคู่ตรงข้ามระหว่างวัฒนธรรม/ธรรมชาติ มนุษย์/สิ่งที่ไม่ใช่มนุษย์ โครงสร้าง/ผู้กระทำการ ตลอดจนมุมมองเชิงพื้นที่มักจะแบ่งคู่ตรงข้ามระหว่างท้องถิ่น/สากล และให้ความสำคัญกับการเคลื่อนที่ การไหลเวียน และความยืดหยุ่น

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

ชัชชล อัจนากิตติ. (2564). ทฤษฎีเครือข่าย-ผู้กระทำ (Actor-Network Theory). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568, จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=243

MLA

ชัชชล อัจนากิตติ. "ทฤษฎีเครือข่าย-ผู้กระทำ (Actor-Network Theory)". ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2564, ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 <http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=243>

HARVARD

ชัชชล อัจนากิตติ, 2564. "ทฤษฎีเครือข่าย-ผู้กระทำ (Actor-Network Theory)", [ออนไลน์]. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=243 [ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568]

File Download

File Download Size Download
ดาวน์โหลดบทความ 525.02 KB