• หน้าหลัก
  • บทความ
  • การเข้า (ให้) ถึงสิทธิชุมชน: การมีสิทธิ มีเสียงและมีส่วนใน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนและประชาชน

การเข้า (ให้) ถึงสิทธิชุมชน: การมีสิทธิ มีเสียงและมีส่วนใน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนและประชาชน

จรรยา ยุทธพลนาวี | 19 ตุลาคม 2564

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

ปัทมา สูบกำบัง ได้ศึกษาการมีส่วนร่วมเกี่ยวกับสิทธิชุมชน ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 46 โดยใช้กรอบแนวคิดเรื่องสิทธิชุมชนที่เกี่ยวโยงกับอำนาจของการ กำหนดรูปแบบวิถีชีวิต ซึ่งอาจเป็นการจัดการทรัพยากรชุมชน แบบแผนจารีตประเพณี วิถี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาของชุมชน รวมถึงระบบยุติธรรมที่มีกลไกการจัดการกับความขัดแย้งที่ชุมชน ให้การยอมรับ และสรุปได้ว่าสิทธิชุมชนของไทยยังก้าวไม่ถึงขั้นที่ประชาชนและชุมชมมีการกำหนด สิทธิในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรของชุมชนได้อย่างเต็มที่ ประชาชนเองมีช่องทางในการ ปกป้องสิทธิชุมชนได้ภายใต้กรอบกฎหมายในกรณีที่มีกิจกรรมบางอย่างก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ชุมชน อย่างไรก็ดี โครงการพัฒนาขนาดใหญ่ให้ความสำคัญกับความสมดุลและความยั่งยืนของ ธรรมชาติน้อยกว่าผลประโยชน์ของการดำเนินงาน และให้ความสำคัญกับสิทธิของประชาชนและ ชุมชนน้อยที่สุด

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

จรรยา ยุทธพลนาวี. (2564). การเข้า (ให้) ถึงสิทธิชุมชน: การมีสิทธิ มีเสียงและมีส่วนใน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนและประชาชน. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567, จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=242

MLA

จรรยา ยุทธพลนาวี. "การเข้า (ให้) ถึงสิทธิชุมชน: การมีสิทธิ มีเสียงและมีส่วนใน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนและประชาชน". ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2564, ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567 <http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=242>

HARVARD

จรรยา ยุทธพลนาวี, 2564. "การเข้า (ให้) ถึงสิทธิชุมชน: การมีสิทธิ มีเสียงและมีส่วนใน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนและประชาชน", [ออนไลน์]. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=242 [ค้นคืนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567]

File Download

File Download Size Download
ดาวน์โหลดบทความ 417.11 KB