สิทธิชุมชนในมุมมองระดับโลก: Community Rights in Global Perspective

ปริยฉัตร เวทยนุกูล | 19 ตุลาคม 2564

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

“สิทธิชุมชน” ไม่ใช่เรื่องใหม่ในสังคมชนบทไทย เป็นเรื่องที่มีมาแต่ดั้งเดิมคู่กับวัฒนธรรมชุมชนและวัฒนธรรมสังคม เนื่องจากสมาชิกชุมชนได้จัดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติให้เกิดความสมดุลและเที่ยงธรรม แต่อย่างไรก็ตามในสังคมเมืองที่ห่างไกลจากธรรมชาติ และได้รับความรู้มาจากสังคมโลกตะวันตกที่ “สิทธิ” ถูกผูกไว้กับกฎหมายที่เป็นลายลักษณ์อักษร ทำให้นักกฎหมายมองไม่เห็นการดำรงอยู่และบทบาทของ “สิทธิชุมชน” จึงได้เกิดการต่อสู้ทางความคิดเกี่ยวกับเรื่องนี้ ในกระบวนการร่างรัฐธรรมนูญ 2540 และถึงแม้ว่าสิทธินี้จะได้ถูกบรรจุรองรับไว้ตามรัฐธรรมนูญ แต่การยอมรับ “สิทธิชุมชน” ในทางปฏิบัติอย่างแท้จริงก็ยังเป็นเรื่องที่ห่างไกลนัก จึงเกิดการเรียกร้องและผลักดันให้มีการยอมรับ “สิทธิชุมชน” ขึ้นในสังคม

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

ปริยฉัตร เวทยนุกูล. (2564). สิทธิชุมชนในมุมมองระดับโลก: Community Rights in Global Perspective. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567, จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=238

MLA

ปริยฉัตร เวทยนุกูล. "สิทธิชุมชนในมุมมองระดับโลก: Community Rights in Global Perspective". ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2564, ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567 <http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=238>

HARVARD

ปริยฉัตร เวทยนุกูล, 2564. "สิทธิชุมชนในมุมมองระดับโลก: Community Rights in Global Perspective", [ออนไลน์]. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=238 [ค้นคืนเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567]

File Download

File Download Size Download
ดาวน์โหลดบทความ 364.25 KB