• หน้าหลัก
  • บทความ
  • ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นชาตินิยม: พินิจกรณีกบฏเงี้ยวเมืองแพร่ (พ.ศ.2445)

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นชาตินิยม: พินิจกรณีกบฏเงี้ยวเมืองแพร่ (พ.ศ.2445)

ชัยพงษ์ สำเนียง | 19 ตุลาคม 2564

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

‘โครงเรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่นชาตินิยม’ ทำให้เห็นถึงอิทธิพลของ “รัฐ” ที่สามารถกำหนดการรับรู้ของคนท้องถิ่นโดยคนในท้องถิ่นไม่สามารถสร้างความหมายที่แตกต่าง แยกขั้ว แสดงให้เห็นถึงการกล่อมเกลาของรัฐผ่านช่องทางต่าง ๆ ที่ได้ผลต่อการรับรู้เหตุการณ์และประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภายใต้อุดมการณ์ “ชาตินิยม” กรณีกบฏเงี้ยวเมืองแพร่ ความเป็นกบฏได้รับการชำระสะสางด้วยการถวาย “เกียรติ” ด้วยกองทหารเกียรติยศ มิใช่การขับไสไล่ส่ง หรือทรยศต่อชาติบ้านเมือง แต่เป็นการเสียสละเพื่อให้บ้านเมืองเดินหน้า เจ้าเมืองแพร่จึงมิใช่กบฏอย่างที่ใครต่อใครร่ำลือกัน การกบฏเป็นการกระทำของเงี้ยวที่เป็นคนนอกที่เข้ามาสร้างความวุ่นวายปั่นป่วน เงี้ยวจึงกลายเป็น “แพะ” เพียงตัวเดียวโดยไม่ต้องหาคำอธิบายใด ๆ ทั้งสิ้น เพราะความรัก “ชาติ” ไม่ต้องการคำอธิบาย

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

ชัยพงษ์ สำเนียง. (2564). ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นชาตินิยม: พินิจกรณีกบฏเงี้ยวเมืองแพร่ (พ.ศ.2445). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568, จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=235

MLA

ชัยพงษ์ สำเนียง. "ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นชาตินิยม: พินิจกรณีกบฏเงี้ยวเมืองแพร่ (พ.ศ.2445)". ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2564, ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 <http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=235>

HARVARD

ชัยพงษ์ สำเนียง, 2564. "ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นชาตินิยม: พินิจกรณีกบฏเงี้ยวเมืองแพร่ (พ.ศ.2445)", [ออนไลน์]. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=235 [ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568]

File Download

File Download Size Download
ดาวน์โหลดบทความ 635.96 KB