• หน้าหลัก
  • บทความ
  • สิทธิเรา คือ เสาบ้าน : การต่อรองเชิงความหมายในกรรมสิทธิ์ที่ดินของชาวเล

สิทธิเรา คือ เสาบ้าน : การต่อรองเชิงความหมายในกรรมสิทธิ์ที่ดินของชาวเล

สุดารัตน์ ศรีอุบล | 5 มกราคม 2564

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (ศมส.) ดำเนินโครงการสนับสนุนกระบวนการฟื้นฟูวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์มาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่มีมติคณะรัฐมนตรีว่าด้วยการฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวเลกะเหรี่ยงเมื่อปี 2553 จากการได้คลุกคลีกับชาวบ้านในพื้นที่มาเป็นเวลาเกือบ 10 ปี แม้ว่ายังพบปัญหาเกี่ยวกับสิทธิขั้นพื้นฐานที่มนุษย์พึงได้รับ เช่น สิทธิในที่ดินทำกิน สิทธิในพื้นที่ทางจิตวิญญาณ แต่ก็มีความคืบหน้าเรื่องการร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ ยกระดับขึ้นจากมติคณะรัฐมนตรี ซึ่ง ศมส. ร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายทั้งภาครัฐและประชาสังคมในการร่าง พรบ. ฉบับดังกล่าว เพื่อหวังว่าชาวเลรวมถึงกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ จะได้รับสิทธิเท่าเทียมเท่าที่มนุษย์จะพึงมี ศมส. ชวนอ่านบทความ สิทธิเรา คือเสาบ้าน ซึ่งสุดารัตน์ ศรีอุบล เขียนขึ้นจากเสียงสะท้อนของพี่น้องชาวเล ในงานรวมญาติชาติพันธุ์ชาวเล ปี 2563 เพื่อทำความรู้จักและทำความเข้าใจการต่อสู้ ต่อรองเพื่อสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเลมากยิ่งขึ้น

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

สุดารัตน์ ศรีอุบล. (2564). สิทธิเรา คือ เสาบ้าน : การต่อรองเชิงความหมายในกรรมสิทธิ์ที่ดินของชาวเล. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568, จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=163

MLA

สุดารัตน์ ศรีอุบล. "สิทธิเรา คือ เสาบ้าน : การต่อรองเชิงความหมายในกรรมสิทธิ์ที่ดินของชาวเล". ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2564, ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 <http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=163>

HARVARD

สุดารัตน์ ศรีอุบล, 2564. "สิทธิเรา คือ เสาบ้าน : การต่อรองเชิงความหมายในกรรมสิทธิ์ที่ดินของชาวเล", [ออนไลน์]. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=163 [ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568]

File Download

File Download Size Download
ดาวน์โหลดบทความ 682.54 KB