ความเป็นไทย/ความเป็นไท

วิภาวดี โก๊ะเค้า | 21 ธันวาคม 2563

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

ความเป็นไทย/ความเป็นไท หนังสือรวมบทความ อันเนื่องจากงานประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 2 เรื่อง ชาติและชาติพันธุ์: วิถีชีวิตและความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในโลกปัจจุบัน เมื่อปี 2546 จากอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านชาติพันธุ์ ที่ได้วิเคราะห์ สังเคราะห์ เรื่องราวของกลุ่มชาติพันธุ์ในหลากหลายพื้นที่ ทั้งคนไตในขุนยวม ชาวไทพวนและผู้ไท ในจังหวัดเลย คนไทในเวียดนาม และชาวไทยอาหม รัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย ที่เสนอให้เห็นว่าวัฒนธรรมคือ กระบวนการสร้างสำนึกทางประวัติศาสตร์ร่วมกัน ที่ช่วยลดทอน ความเป็นคนอื่น โดยเชื่อมโยง ความเป็นเรา หรือความเป็นไทเข้าด้วยกัน

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

วิภาวดี โก๊ะเค้า. (2563). ความเป็นไทย/ความเป็นไท. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 24 มกราคม 2568, จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=158

MLA

วิภาวดี โก๊ะเค้า. "ความเป็นไทย/ความเป็นไท". ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2563, ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 24 มกราคม 2568 <http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=158>

HARVARD

วิภาวดี โก๊ะเค้า, 2563. "ความเป็นไทย/ความเป็นไท", [ออนไลน์]. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=158 [ค้นคืนเมื่อ 24 มกราคม 2568]

File Download

File Download Size Download
ดาวน์โหลดบทความ 469.16 KB