ปรัชญามานิ: วิถีชีวิตและการปรับตัวของคนกับป่า

สุดารัตน์ ศรีอุบล | 24 กรกฎาคม 2563

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ยังมีกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานในป่าของประเทศไทยมาอย่างยาวนาน ชื่อเรียกของเขาคือ มานิ (Mani) หรือ มานิค (Maniq) ซึ่งเป็นชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้เรียกตนเองและมีความหมายว่า คน ในขณะที่ชื่อที่ผู้อื่นเรียกมีหลากหลายแตกต่างกันออกไป อาทิ โอรังอัสลี เนกริโต เซมัง ซาไก ชอง มอส ตอนกา เงาะ เงาะป่า เป็นต้น จากความหลากหลายของชื่อเรียกกลุ่มชาติพันธุ์ทำให้เกิดข้อถกเถียงในงานทางวิชาการว่า มานิ คือ เซมัง ไม่ใช่ ซาไก

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

สุดารัตน์ ศรีอุบล. (2563). ปรัชญามานิ: วิถีชีวิตและการปรับตัวของคนกับป่า. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 30 พฤษภาคม 2567, จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=138

MLA

สุดารัตน์ ศรีอุบล. "ปรัชญามานิ: วิถีชีวิตและการปรับตัวของคนกับป่า". ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2563, ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 30 พฤษภาคม 2567 <http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=138>

HARVARD

สุดารัตน์ ศรีอุบล, 2563. "ปรัชญามานิ: วิถีชีวิตและการปรับตัวของคนกับป่า", [ออนไลน์]. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=138 [ค้นคืนเมื่อ 30 พฤษภาคม 2567]

File Download

File Download Size Download
ดาวน์โหลดบทความ 894.08 KB