• หน้าหลัก
  • บทความ
  • ทางเลือก ทางรอดของชุมชนชาติพันธุ์ในสถานการณ์วิกฤตโควิด 19 และไฟป่า

ทางเลือก ทางรอดของชุมชนชาติพันธุ์ในสถานการณ์วิกฤตโควิด 19 และไฟป่า

เจษฎา เนตะวงศ์ | 24 เมษายน 2563

 

คำอธิบาย / บทคัดย่อ

การสร้างระยะห่างทางสังคม (social distancing) ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินมาตรการดังกล่าวเป็นส่วนสำคัญในการช่วยลดอัตราการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส ขณะเดียวกันก็เป็นการจำกัดพื้นที่ในการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพผู้คนในสังคม โดยเฉพาะในกลุ่มเปราะบางที่มีอาชีพรับจ้างรายวัน ไม่สามารถออกไปทำงานหารายได้จุนเจือชีวิตและครอบครัวได้

ระบบอ้างอิงอัตโนมัติฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ศมส.

APA

เจษฎา เนตะวงศ์. (2563). ทางเลือก ทางรอดของชุมชนชาติพันธุ์ในสถานการณ์วิกฤตโควิด 19 และไฟป่า. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568, จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=113

MLA

เจษฎา เนตะวงศ์. "ทางเลือก ทางรอดของชุมชนชาติพันธุ์ในสถานการณ์วิกฤตโควิด 19 และไฟป่า". ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร,2563, ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส. [ออนไลน์]. ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568 <http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=113>

HARVARD

เจษฎา เนตะวงศ์, 2563. "ทางเลือก ทางรอดของชุมชนชาติพันธุ์ในสถานการณ์วิกฤตโควิด 19 และไฟป่า", [ออนไลน์]. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. จาก ฐานข้อมูลงานวิจัย ศมส.: http://sac-research.sac.or.th/article-detail.php?articleID=113 [ค้นคืนเมื่อ 9 มกราคม 2568]

File Download

File Download Size Download
ดาวน์โหลดบทความ 829.09 KB