| | เข้าสู่ระบบ
โครงการวิจัย พลวัตชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยงภาคตะวันตกของไทย ระยะที่ 1 พื้นที่ศึกษาสามจังหวัดทางภาคตะวันตกของไทย ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรีและเพชรบุรี ที่มีบริบทแวดล้อมของพื้นติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน อันส่งผลกระทบในหลายมิติทั้งต่อการตั้งถิ่นฐาน การเคลื่อนย้าย และการเปลี่ยนแปลงจำนวนประชากร สังคมและวัฒนธรรมของชาวกะเหรี่ยงจากอดีตเรื่อยมากระทั่งปัจจุบัน เช่น ความเป็นมาและประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ “กะเหรี่ยงไทย” หรือ “ไทยกะเหรี่ยง” ดำเนินไปในลักษณะคู่ขนานกับบริบทการเมืองของพม่าหรือเมียนมาร์มาช้านาน ภาพลักษณ์ของชาวกะเหรี่ยงภาคตะวันตกของไทยปรากฏปฏิสัมพันธ์เชิงบวก จาก “ผู้อพยพพลัดถิ่น” มาพำนักอาศัยเคลื่อนสู่ลักษณะ “คนพื้นเมืองพื้นถิ่น” บางชุมชนผสมผสานกลืนกลายเป็นไทยทั้งทางพลเมืองและทางวัฒนธรรม ขณะเดียวกัน “ความเป็นกะเหรี่ยง/กะหร่าง” ปรากฏอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและการธำรงชาติพันธุ์เชื่อมโยงสัมพันธ์ทางเครือญาติระหว่างชุมชนเป็นเครือข่ายทางวัฒนธรรมที่ขยายตัวออกไป
บทที่ 1 บทนำ น.1
ที่มาและความสำคัญของปัญหาของการวิจัย น.1
วัตถุประสงค์ของการวิจัย น.2
ประโยชน์ที่จะได้รับจากงานวิจัย น.2
ระเบียบวิธีวิจัย น.2
แผนและระยะเวลาการดำเนินงานตลอดโครงการวิจัย น.3
บทที่ 2 กรอบแนวคิดทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง น.5
กรอบแนวคิดทฤษฎี น.5
แนวคิดอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ น.6
แนวคิดการธำรงชาติพันธุ์ น.9
แนวคิดคนพลัดถิ่น น.16
ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง น.20
ประวัติความเป็นมาของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง น.20
งานศึกษากะเหรี่ยงกาญจนบุรี น.22
งานศึกษาเกี่ยวกับกะเหรี่ยงราชบุรี น.23
งานศึกษาเกี่ยวกับกะเหรี่ยงเพชรบุรี น.25
สรุปปรากฏการณ์ของกะเหรี่ยงจากการทบทวนวรรณกรรมเบื้องต้น น.27
บทสังเคราะห์ความรู้ว่าด้วยงานวิจัยชุมชนกะเหรี่ยงกาญจนบุรี ราชบุรี และเพชรบุรี น.28
บทที่ 3 ชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยงกาญจนบุรี ราชบุรี และเพชรบุรี น.30
ภาพรวมประชากรชุมชนกะเหรี่ยงกาญจนบุรี ราชบุรี และเพชรบุรี น.31
ชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยงกาญจนบุรี น.33
ข้อมูลประชากร น.33
กะเหรี่ยงไล่โว่ สังขละบุรี และลิ่นถิ่น ทองผาภูมิ น.36
“บ้านผี”: การไหว้ผีบรรพบุรุษแบบดั้งเดิมของลิ่นถิ่น น.60
เทศกาล “ยกตง”“แห่เสาทะเดิ่งบุ่ง”: การฟื้นฟูอัตลักษณ์กะเหรี่ยงหนองบาง น.65
ชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยงราชบุรี น.70
ข้อมูลประชากร น.70
วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของชาวกะเหรี่ยงสวนผึ้ง น.73
ชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยงเพชรบุรี น.90
ข้อมูลประชากร น.90
ที่มาของ “กะเหรี่ยง” “กะหร่าง” และตัวตนกะเหรี่ยง น.93
กะเหรี่ยงยางน้ำกลัด หนองหญ้าปล้อง น.96
ประเพณี “เวียนศาลา” “ก่อเจดีย์ทราย” เดือน 5 น.100
ประเพณีเดือน 9 “เรียกขวัญ”-“กินข้าวห่อกะเหรี่ยง”หนองหญ้าปล้อง น.109
บทที่ 4 พลวัตของชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยง ณ สามเมืองตะวันตกของไทย น.113
“ความต่างในความเหมือน” ของประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์กะเหรี่ยง น.113
ภูมิปัญญานิเวศวัฒนธรรม: อัตลักษณ์ชาติพันธุ์กะเหรี่ยงเมืองกาญจน์ น.115
การธำรงชาติพันธุ์ของชุมชนกะเหรี่ยงโปว์ น.117
จาก “คนพลัดถิ่น” สู่ “คนพื้นเมืองพื้นถิ่น” น.120
สรุป น.123
รายการอ้างอิง น.124